uisp commited on
Commit
7332271
·
1 Parent(s): 1fa714b

fix page for 01

Browse files
This view is limited to 50 files because it contains too many changes.   See raw diff
Files changed (50) hide show
  1. 01/010001.csv +20 -20
  2. 01/010002.csv +27 -27
  3. 01/010003.csv +27 -27
  4. 01/010004.csv +25 -25
  5. 01/010005.csv +25 -25
  6. 01/010006.csv +28 -28
  7. 01/010007.csv +25 -25
  8. 01/010008.csv +25 -25
  9. 01/010009.csv +25 -25
  10. 01/010010.csv +28 -28
  11. 01/010011.csv +27 -27
  12. 01/010012.csv +26 -26
  13. 01/010013.csv +7 -7
  14. 01/010014.csv +25 -25
  15. 01/010015.csv +27 -27
  16. 01/010016.csv +26 -26
  17. 01/010017.csv +25 -25
  18. 01/010018.csv +28 -28
  19. 01/010019.csv +28 -28
  20. 01/010020.csv +26 -26
  21. 01/010021.csv +27 -27
  22. 01/010022.csv +26 -26
  23. 01/010023.csv +28 -28
  24. 01/010024.csv +26 -26
  25. 01/010025.csv +26 -26
  26. 01/010026.csv +28 -28
  27. 01/010027.csv +25 -25
  28. 01/010028.csv +26 -26
  29. 01/010029.csv +27 -27
  30. 01/010030.csv +25 -25
  31. 01/010031.csv +24 -24
  32. 01/010032.csv +24 -24
  33. 01/010033.csv +26 -26
  34. 01/010034.csv +26 -26
  35. 01/010035.csv +26 -26
  36. 01/010036.csv +26 -26
  37. 01/010037.csv +25 -25
  38. 01/010038.csv +27 -27
  39. 01/010039.csv +26 -26
  40. 01/010040.csv +27 -27
  41. 01/010041.csv +25 -25
  42. 01/010042.csv +28 -28
  43. 01/010043.csv +24 -24
  44. 01/010044.csv +26 -26
  45. 01/010045.csv +26 -26
  46. 01/010046.csv +26 -26
  47. 01/010047.csv +27 -27
  48. 01/010048.csv +21 -21
  49. 01/010049.csv +29 -29
  50. 01/010050.csv +26 -26
01/010001.csv CHANGED
@@ -1,21 +1,21 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010001,001,พระวินัยปิฎก
3
- 01,010001,002,เล่ม ๑
4
- 01,010001,003,มหาวิภังค์ ปฐมภาค
5
- 01,010001,004,ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
6
- 01,010001,005,เวรัญชกัณฑ์
7
- 01,010001,006,เรื่องเวรัญชพราหมณ์
8
- 01,010001,007,[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์
9
- 01,010001,008,สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป เวรัญชพราหมณ์
10
- 01,010001,009,ได้สดับข่าวถนัดแน่ว่า ท่านผู้เจริญ พระสมณะโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยตระกูล
11
- 01,010001,010,ประทับอยู่ ณ บริเวณต้นไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์
12
- 01,010001,011,หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้ว
13
- 01,010001,012,อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์แม้เพราะเหตุนี้ ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ
14
- 01,010001,013,แม้เพราะเหตุนี้ ทรงบรรลุวิชชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เสด็จไปดีแม้เพราะเหตุนี้ ทรงทราบ
15
- 01,010001,014,โลกแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็น
16
- 01,010001,015,ศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพุทธะแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพระ
17
- 01,010001,016,ผู้มีพระภาคแม้เพราะเหตุนี้ พระองค์ทรงทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัด
18
- 01,010001,017,ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทพ
19
- 01,010001,018,และมนุษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศ
20
- 01,010001,019,พรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์บริสุทธิ์ อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็น
21
- 01,010001,020,ปานนั้น เป็นความดี.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0001,001,พระวินัยปิฎก
3
+ 01,0001,002,เล่ม ๑
4
+ 01,0001,003,มหาวิภังค์ ปฐมภาค
5
+ 01,0001,004,ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
6
+ 01,0001,005,เวรัญชกัณฑ์
7
+ 01,0001,006,เรื่องเวรัญชพราหมณ์
8
+ 01,0001,007,[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์
9
+ 01,0001,008,สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป เวรัญชพราหมณ์
10
+ 01,0001,009,ได้สดับข่าวถนัดแน่ว่า ท่านผู้เจริญ พระสมณะโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยตระกูล
11
+ 01,0001,010,ประทับอยู่ ณ บริเวณต้นไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์
12
+ 01,0001,011,หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้ว
13
+ 01,0001,012,อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์แม้เพราะเหตุนี้ ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ
14
+ 01,0001,013,แม้เพราะเหตุนี้ ทรงบรรลุวิชชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เสด็จไปดีแม้เพราะเหตุนี้ ทรงทราบ
15
+ 01,0001,014,โลกแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็น
16
+ 01,0001,015,ศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพุทธะแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพระ
17
+ 01,0001,016,ผู้มีพระภาคแม้เพราะเหตุนี้ พระองค์ทรงทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัด
18
+ 01,0001,017,ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทพ
19
+ 01,0001,018,และมนุษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศ
20
+ 01,0001,019,พรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์บริสุทธิ์ อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็น
21
+ 01,0001,020,ปานนั้น เป็นความดี.
01/010002.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010002,001,เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า
3
- 01,010002,002,[๒] หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำนัก ครั้นถึงแล้วได้ทูลปราศรัยกับ
4
- 01,010002,003,พระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิงเป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ
5
- 01,010002,004,ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาค
6
- 01,010002,005,ว่า ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณะโคดม ไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่
7
- 01,010002,006,ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ข้อที่ข้าพเจ้าทราบมานี้
8
- 01,010002,007,นั้นเป็นเช่นนั้นจริง อันการที่ท่านพระโคดมไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้
9
- 01,010002,008,ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะนี้นั้น ไม่สมควรเลย.
10
- 01,010002,009,พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก ทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใน
11
- 01,010002,010,หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ เราไม่เล็งเห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควร
12
- 01,010002,011,ลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญด้วยอาสนะ เพราะว่า ตถาคตพึงไหว้ พึงลุกรับ หรือพึงเชื้อเชิญ
13
- 01,010002,012,บุคคลใดด้วยอาสนะ แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็จะพึงขาดตกไป.
14
- 01,010002,013,ว. ท่านพระโคดมมีปกติไม่ไยดี.
15
- 01,010002,014,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี
16
- 01,010002,015,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคต
17
- 01,010002,016,ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
18
- 01,010002,017,ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี้ชื่อว่า
19
- 01,010002,018,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
20
- 01,010002,019,ว. ท่านพระโคดมไม่มีสมบัติ.
21
- 01,010002,020,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้
22
- 01,010002,021,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว
23
- 01,010002,022,ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็น
24
- 01,010002,023,ธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่
25
- 01,010002,024,ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
26
- 01,010002,025,ว. ท่านพระโคดมกล่าวการไม่ทำ.
27
- 01,010002,026,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการไม่ทำ
28
- 01,010002,027,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการ
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0002,001,เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า
3
+ 01,0002,002,[๒] หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำนัก ครั้นถึงแล้วได้ทูลปราศรัยกับ
4
+ 01,0002,003,พระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิงเป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ
5
+ 01,0002,004,ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาค
6
+ 01,0002,005,ว่า ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณะโคดม ไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่
7
+ 01,0002,006,ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ข้อที่ข้าพเจ้าทราบมานี้
8
+ 01,0002,007,นั้นเป็นเช่นนั้นจริง อันการที่ท่านพระโคดมไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้
9
+ 01,0002,008,ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะนี้นั้น ไม่สมควรเลย.
10
+ 01,0002,009,พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก ทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใน
11
+ 01,0002,010,หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ เราไม่เล็งเห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควร
12
+ 01,0002,011,ลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญด้วยอาสนะ เพราะว่า ตถาคตพึงไหว้ พึงลุกรับ หรือพึงเชื้อเชิญ
13
+ 01,0002,012,บุคคลใดด้วยอาสนะ แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็จะพึงขาดตกไป.
14
+ 01,0002,013,ว. ท่านพระโคดมมีปกติไม่ไยดี.
15
+ 01,0002,014,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี
16
+ 01,0002,015,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคต
17
+ 01,0002,016,ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
18
+ 01,0002,017,ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี้ชื่อว่า
19
+ 01,0002,018,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
20
+ 01,0002,019,ว. ท่านพระโคดมไม่มีสมบัติ.
21
+ 01,0002,020,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้
22
+ 01,0002,021,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว
23
+ 01,0002,022,ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็น
24
+ 01,0002,023,ธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่
25
+ 01,0002,024,ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
26
+ 01,0002,025,ว. ท่านพระโคดมกล่าวการไม่ทำ.
27
+ 01,0002,026,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการไม่ทำ
28
+ 01,0002,027,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการ
01/010003.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010003,001,ไม่ทำสิ่งที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการ
3
- 01,010003,002,ไม่ทำ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
4
- 01,010003,003,ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสูญ.
5
- 01,010003,004,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวความขาดสูญ
6
- 01,010003,005,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ เรากล่าวความ
7
- 01,010003,006,ขาดสูญแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดม
8
- 01,010003,007,กล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
9
- 01,010003,008,ว. ท่านพระโคดมช่างรังเกียจ.
10
- 01,010003,009,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ ดังนี้
11
- 01,010003,010,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่ง
12
- 01,010003,011,สภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ
13
- 01,010003,012,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
14
- 01,010003,013,ว. ท่านพระโคดมช่างกำจัด.
15
- 01,010003,014,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างกำจัด ดังนี้
16
- 01,010003,015,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัด ราคะ โทสะ โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำจัดสภาพ
17
- 01,010003,016,ที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่างนี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างกำจัด ดังนี้ ชื่อว่า
18
- 01,010003,017,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
19
- 01,010003,018,ว. ท่านพระโคดมช่างเผาผลาญ.
20
- 01,010003,019,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ ดังนี้
21
- 01,010003,020,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่า
22
- 01,010003,021,เป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ ธรรมที่เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผาผลาญ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
23
- 01,010003,022,ขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
24
- 01,010003,023,เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนช่างเผาผลาญ พราหมณ์ ธรรมทั้งหลายที่เป็นบาปอกุศล ซึ่งควรเผาผลาญ
25
- 01,010003,024,ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง
26
- 01,010003,025,มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ
27
- 01,010003,026,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
28
- 01,010003,027,ว. ท่านพระโคดมไม่ผุดเกิด.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0003,001,ไม่ทำสิ่งที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการ
3
+ 01,0003,002,ไม่ทำ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
4
+ 01,0003,003,ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสูญ.
5
+ 01,0003,004,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวความขาดสูญ
6
+ 01,0003,005,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ เรากล่าวความ
7
+ 01,0003,006,ขาดสูญแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดม
8
+ 01,0003,007,กล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
9
+ 01,0003,008,ว. ท่านพระโคดมช่างรังเกียจ.
10
+ 01,0003,009,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ ดังนี้
11
+ 01,0003,010,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่ง
12
+ 01,0003,011,สภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ
13
+ 01,0003,012,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
14
+ 01,0003,013,ว. ท่านพระโคดมช่างกำจัด.
15
+ 01,0003,014,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างกำจัด ดังนี้
16
+ 01,0003,015,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัด ราคะ โทสะ โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำจัดสภาพ
17
+ 01,0003,016,ที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่างนี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างกำจัด ดังนี้ ชื่อว่า
18
+ 01,0003,017,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
19
+ 01,0003,018,ว. ท่านพระโคดมช่างเผาผลาญ.
20
+ 01,0003,019,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ ดังนี้
21
+ 01,0003,020,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่า
22
+ 01,0003,021,เป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ ธรรมที่เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผาผลาญ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
23
+ 01,0003,022,ขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
24
+ 01,0003,023,เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนช่างเผาผลาญ พราหมณ์ ธรรมทั้งหลายที่เป็นบาปอกุศล ซึ่งควรเผาผลาญ
25
+ 01,0003,024,ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง
26
+ 01,0003,025,มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ
27
+ 01,0003,026,ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
28
+ 01,0003,027,ว. ท่านพระโคดมไม่ผุดเกิด.
01/010004.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010004,001,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้
3
- 01,010004,002,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
4
- 01,010004,003,ขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
5
- 01,010004,004,เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนไม่ผุดเกิด พราหมณ์ การนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ ตถาคต
6
- 01,010004,005,ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
7
- 01,010004,006,ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่า
8
- 01,010004,007,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
9
- 01,010004,008,ทรงอุปมาด้วยลูกไก่
10
- 01,010004,009,[๓] ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ฟองไก่
11
- 01,010004,010,เหล่านั้น อันแม่ไก่พึงกกดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่เหล่านั้น ลูกไก่ตัวใดทำลาย
12
- 01,010004,011,กะเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วยจะงอยปาก ออกมาได้โดยสวัสดีก่อนกว่าเขา ลูกไก่
13
- 01,010004,012,ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพี่หรือน้อง.
14
- 01,010004,013,ว. ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา.
15
- 01,010004,014,ทรงแสดงฌาน ๔ และวิชชา ๓
16
- 01,010004,015,ภ. เราก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง
17
- 01,010004,016,อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้
18
- 01,010004,017,ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก
19
- 01,010004,018,เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่
20
- 01,010004,019,กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง.
21
- 01,010004,020,ปฐมฌาน
22
- 01,010004,021,เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก
23
- 01,010004,022,มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่.
24
- 01,010004,023,ทุติยฌาน
25
- 01,010004,024,เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก
26
- 01,010004,025,ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0004,001,ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้
3
+ 01,0004,002,ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
4
+ 01,0004,003,ขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
5
+ 01,0004,004,เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนไม่ผุดเกิด พราหมณ์ การนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ ตถาคต
6
+ 01,0004,005,ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
7
+ 01,0004,006,ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่า
8
+ 01,0004,007,กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
9
+ 01,0004,008,ทรงอุปมาด้วยลูกไก่
10
+ 01,0004,009,[๓] ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ฟองไก่
11
+ 01,0004,010,เหล่านั้น อันแม่ไก่พึงกกดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่เหล่านั้น ลูกไก่ตัวใดทำลาย
12
+ 01,0004,011,กะเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วยจะงอยปาก ออกมาได้โดยสวัสดีก่อนกว่าเขา ลูกไก่
13
+ 01,0004,012,ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพี่หรือน้อง.
14
+ 01,0004,013,ว. ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา.
15
+ 01,0004,014,ทรงแสดงฌาน ๔ และวิชชา ๓
16
+ 01,0004,015,ภ. เราก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง
17
+ 01,0004,016,อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้
18
+ 01,0004,017,ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก
19
+ 01,0004,018,เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่
20
+ 01,0004,019,กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง.
21
+ 01,0004,020,ปฐมฌาน
22
+ 01,0004,021,เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก
23
+ 01,0004,022,มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่.
24
+ 01,0004,023,ทุติยฌาน
25
+ 01,0004,024,เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก
26
+ 01,0004,025,ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่.
01/010005.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010005,001,ตติยฌาน
3
- 01,010005,002,เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป
4
- 01,010005,003,ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่.
5
- 01,010005,004,จตุตถฌาน
6
- 01,010005,005,เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส
7
- 01,010005,006,ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่.
8
- 01,010005,007,บุพเพนิวาสานุสสติญาณ
9
- 01,010005,008,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
10
- 01,010005,009,แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ เรานั้น
11
- 01,010005,010,ย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง
12
- 01,010005,011,สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง
13
- 01,010005,012,ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัลป์
14
- 01,010005,013,เป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้นเราได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตร
15
- 01,010005,014,อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียง
16
- 01,010005,015,เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพโน้นนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น
17
- 01,010005,016,มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนด
18
- 01,010005,017,อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพโน้นนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เราย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็น
19
- 01,010005,018,อันมาก พร้อมทั้งอุเทส พร้อมทั้งอาการ ด้วยประการฉะนี้ พราหมณ์ วิชชาที่หนึ่งนี่แล เรา
20
- 01,010005,019,ได้บรรลุแล้วในปฐมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืด
21
- 01,010005,020,เรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร
22
- 01,010005,021,เผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่หนึ่งของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการ
23
- 01,010005,022,ทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ฉะนั้น.
24
- 01,010005,023,จุตูปปาตญาณ
25
- 01,010005,024,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไ��่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
26
- 01,010005,025,แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อญาณเครื่องรู้จุติและอุปบัติ
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0005,001,ตติยฌาน
3
+ 01,0005,002,เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป
4
+ 01,0005,003,ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่.
5
+ 01,0005,004,จตุตถฌาน
6
+ 01,0005,005,เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส
7
+ 01,0005,006,ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่.
8
+ 01,0005,007,บุพเพนิวาสานุสสติญาณ
9
+ 01,0005,008,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
10
+ 01,0005,009,แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ เรานั้น
11
+ 01,0005,010,ย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือระลึกชาติได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง
12
+ 01,0005,011,สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง
13
+ 01,0005,012,ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัลป์
14
+ 01,0005,013,เป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัลป์เป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้นเราได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตร
15
+ 01,0005,014,อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียง
16
+ 01,0005,015,เท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพโน้นนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น
17
+ 01,0005,016,มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนด
18
+ 01,0005,017,อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพโน้นนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เราย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็น
19
+ 01,0005,018,อันมาก พร้อมทั้งอุเทส พร้อมทั้งอาการ ด้วยประการฉะนี้ พราหมณ์ วิชชาที่หนึ่งนี่แล เรา
20
+ 01,0005,019,ได้บรรลุแล้วในปฐมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืด
21
+ 01,0005,020,เรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร
22
+ 01,0005,021,เผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่หนึ่งของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการ
23
+ 01,0005,022,ทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ฉะนั้น.
24
+ 01,0005,023,จุตูปปาตญาณ
25
+ 01,0005,024,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
26
+ 01,0005,025,แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่อญาณเครื่องรู้จุติและอุปบัติ
01/010006.csv CHANGED
@@ -1,29 +1,29 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010006,001,ของสัตว์ทั้งหลาย เรานั้นย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี
3
- 01,010006,002,มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์
4
- 01,010006,003,ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
5
- 01,010006,004,ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่
6
- 01,010006,005,เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก หรือว่าหมู่สัตว์ผู้เกิด
7
- 01,010006,006,เป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็น
8
- 01,010006,007,สัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตก
9
- 01,010006,008,กายตายไป เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต
10
- 01,010006,009,มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อม
11
- 01,010006,010,รู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมด้วยประการดังนี้ พราหมณ์ วิชชาที่สองนี้แล เราได้บรรลุแล้ว
12
- 01,010006,011,ในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว
13
- 01,010006,012,แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไป
14
- 01,010006,013,แล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สองของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะ
15
- 01,010006,014,ฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
16
- 01,010006,015,อาสวักขยญาณ
17
- 01,010006,016,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
18
- 01,010006,017,แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัด
19
- 01,010006,018,ตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความ
20
- 01,010006,019,ดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้
21
- 01,010006,020,อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้
22
- 01,010006,021,ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้
23
- 01,010006,022,หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ
24
- 01,010006,023,เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว
25
- 01,010006,024,พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์
26
- 01,010006,025,วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิด
27
- 01,010006,026,แก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท
28
- 01,010006,027,มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สามของเรานี้แล ได้เป็น
29
- 01,010006,028,เหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0006,001,ของสัตว์ทั้งหลาย เรานั้นย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี
3
+ 01,0006,002,มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์
4
+ 01,0006,003,ผู้เข้าถึงตามกรรมว่า หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
5
+ 01,0006,004,ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่
6
+ 01,0006,005,เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก หรือว่าหมู่สัตว์ผู้เกิด
7
+ 01,0006,006,เป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็น
8
+ 01,0006,007,สัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ หมู่สัตว์ผู้เกิดเป็นอยู่เหล่านั้น เบื้องหน้าแต่แตก
9
+ 01,0006,008,กายตายไป เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต
10
+ 01,0006,009,มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อม
11
+ 01,0006,010,รู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงตามกรรมด้วยประการดังนี้ พราหมณ์ วิชชาที่สองนี้แล เราได้บรรลุแล้ว
12
+ 01,0006,011,ในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก��เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว
13
+ 01,0006,012,แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไป
14
+ 01,0006,013,แล้วอยู่ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สองของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะ
15
+ 01,0006,014,ฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
16
+ 01,0006,015,อาสวักขยญาณ
17
+ 01,0006,016,เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
18
+ 01,0006,017,แก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัด
19
+ 01,0006,018,ตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความ
20
+ 01,0006,019,ดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้
21
+ 01,0006,020,อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้
22
+ 01,0006,021,ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้
23
+ 01,0006,022,หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ
24
+ 01,0006,023,เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว
25
+ 01,0006,024,พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์
26
+ 01,0006,025,วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิด
27
+ 01,0006,026,แก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท
28
+ 01,0006,027,มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออกครั้งที่สามของเรานี้แล ได้เป็น
29
+ 01,0006,028,เหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
01/010007.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010007,001,เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก
3
- 01,010007,002,[๔] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว เวรัญชพราหมณ์ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาค
4
- 01,010007,003,ว่า ท่านพระโคดมเป็นผู้เจริญที่สุด ท่านพระโคดมเป็นผู้ประเสริฐที่สุด ข้าแต่ท่านพระโคดม
5
- 01,010007,004,ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมโดย
6
- 01,010007,005,อเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง
7
- 01,010007,006,หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปดังนี้ ข้าพเจ้านี้ขอถึงท่านพระโคดม
8
- 01,010007,007,พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำข้าพเจ้าว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะ
9
- 01,010007,008,ตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระองค์พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์จงทรงรับอาราธนาอยู่
10
- 01,010007,009,จำพรรษา ที่เมืองเวรัญชาของข้าพเจ้าเถิด.
11
- 01,010007,010,พระผู้มีพระภาคทรงรับอาราธนาด้วยพระอาการดุษณี ครั้นเวรัญชพราหมณ์ทราบการรับ
12
- 01,010007,011,อาราธนาของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ลุกจากที่นั่งถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณ
13
- 01,010007,012,หลีกไป.
14
- 01,010007,013,เมืองเวรัญชาเกิดทุพภิกขภัย
15
- 01,010007,014,[๕] ก็โดยสมัยนั้นแล เมืองเวรัญชา มีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง
16
- 01,010007,015,มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการ
17
- 01,010007,016,ถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย ครั้งนั้นพวกพ่อค้าม้าชาวอุตราปถะ มีม้าประมาณ ๕๐๐ ตัว ได้
18
- 01,010007,017,เข้าพักแรมตลอดฤดูฝนในเมืองเวรัญชา พวกเขาได้ตกแต่งข้าวแดงสำหรับภิกษุรูปละแล่งไว้ที่
19
- 01,010007,018,คอกม้า เวลาเช้าภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตในเมืองเวรัญชา
20
- 01,010007,019,เมื่อไม่ได้บิณฑบาต จึงเที่ยวไปบิณฑบาตที่คอกม้า รับข้าวแดงรูปละแล่ง นำไปสู่อารามแล้วลงครก
21
- 01,010007,020,โขลกฉัน ส่วนท่านพระอานนท์บดข้าวแดงแล่งหนึ่งที่ศิลา แล้วน้อมเข้าไปถวายแด่พระผู้มีพระภาค
22
- 01,010007,021,พระผู้มีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่บดถวายนั้นอยู่ ได้ทรงสดับเสียงครกแล้ว.
23
- 01,010007,022,พระพุทธประเพณี
24
- 01,010007,023,พระตถาคตทั้งหลายทรงทราบอยู่ ย่อมตรัสถามก็มี ทรงทราบอยู่ย่อมไม่ตรัสถามก็มี
25
- 01,010007,024,ทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม พระตถาคตทั้งหลายย่อมตรัสถามสิ่ง
26
- 01,010007,025,ที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามสิ่งที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ สิ่งที่ไม่ประกอบด้วย
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0007,001,เวรัญชพราหมณ์แสดงตนเป็นอุบาสก
3
+ 01,0007,002,[๔] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว เวรัญชพราหมณ์ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาค
4
+ 01,0007,003,ว่า ท่านพระโคดมเป็นผู้เจริญที่สุด ท่านพระโคดมเป็นผู้ประเสริฐที่สุด ข้าแต่ท่านพระโคดม
5
+ 01,0007,004,ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ภาษิตของพระองค์ไพเราะนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมโดย
6
+ 01,0007,005,อเนกปริยายอย่างนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง
7
+ 01,0007,006,หรือส่องประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปดังนี้ ข้าพเจ้านี้ขอถึงท่านพระโคดม
8
+ 01,0007,007,พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์จงทรงจำข้าพเจ้าว่าเป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะ
9
+ 01,0007,008,ตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป และขอพระองค์พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์จงทรงรับอาราธนาอยู่
10
+ 01,0007,009,จำพรรษา ที่เมืองเวรัญชาของข้าพเจ้าเถิด.
11
+ 01,0007,010,พระผู้มีพระภาคทรงรับอาราธนาด้วยพระอาการดุษณี ครั้นเวรัญชพราหมณ์ทราบการรับ
12
+ 01,0007,011,อาราธนาของพระผู้มีพระภาคแล้ว ได้ลุกจากที่นั่งถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณ
13
+ 01,0007,012,หลีกไป.
14
+ 01,0007,013,เมืองเวรัญชาเกิดทุพภิกขภัย
15
+ 01,0007,014,[๕] ก็โดยสมัยนั้นแล เมืองเวรัญชา มีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง
16
+ 01,0007,015,มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการ
17
+ 01,0007,016,ถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย ครั้งนั้นพวกพ่อค้าม้าชาวอุตราปถะ มีม้าประมาณ ๕๐๐ ตัว ได้
18
+ 01,0007,017,เข้าพักแรมตลอดฤดูฝนในเมืองเวรัญชา พวกเขาได้ตกแต่งข้าวแดงสำหรับภิกษุรูปละแล่งไว้ที่
19
+ 01,0007,018,คอกม้า เวลาเช้าภิกษุทั้งหลายครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตในเมืองเวรัญชา
20
+ 01,0007,019,เมื่อไม่ได้บิณฑบาต จึงเที่ยวไปบิณฑบาตที่คอกม้า รับข้าวแดงรูปละแล่ง นำไปสู่อารามแล้วลงครก
21
+ 01,0007,020,โขลกฉัน ส่วนท่านพระอานนท์บดข้าวแดงแล่งหนึ่งที่ศิลา แล้วน้อมเข้าไปถวายแด่พระผู้มีพระภาค
22
+ 01,0007,021,พระผู้มีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่บดถวายนั้นอยู่ ได้ทรงสดับเสียงครกแล้ว.
23
+ 01,0007,022,พระพุทธประเพณี
24
+ 01,0007,023,พระตถาคตทั้งหลายทรงทราบอยู่ ย่อมตรัสถามก็มี ทรงทราบอยู่ย่อมไม่ตรัสถามก็มี
25
+ 01,0007,024,ทรงทราบกาลแล้วตรัสถาม ทรงทราบกาลแล้วไม่ตรัสถาม พระตถาคตทั้งหลายย่อมตรัสถามสิ่ง
26
+ 01,0007,025,ที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ตรัสถามสิ่งที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ สิ่งที่ไม่ประกอบด้วย
01/010008.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010008,001,ประโยชน์ พระองค์ทรงกำจัดด้วยข้อปฏิบัติ พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถาม
3
- 01,010008,002,ภิกษุทั้งหลายด้วยอาการสองอย่าง คือ จักทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จักทรงบัญญัติสิกขาบทแก่
4
- 01,010008,003,พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง.
5
- 01,010008,004,ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสถามท่านพระอานนท์ว่า อานนท์ นั่นเสียงครกหรือหนอ
6
- 01,010008,005,จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเนื้อความนั้นให้ทรงทราบ พระผู้มีพระภาคตรัสสรรเสริญว่า ดีละ
7
- 01,010008,006,ดีละ อานนท์ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ ชนะวิเศษแล้ว พวกเพื่อนพรหมจารีชั้นหลังจักดูหมิ่นข้าว
8
- 01,010008,007,สาลีและข้าวสุกอันระคนด้วยเนื้อ.
9
- 01,010008,008,พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท
10
- 01,010008,009,[๖] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง
11
- 01,010008,010,ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้เมืองเวรัญชา
12
- 01,010008,011,มีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้อ
13
- 01,010008,012,อาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย พระพุทธเจ้าข้า
14
- 01,010008,013,พื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดินผืนใหญ่นี้ สมบูรณ์ มีรสอันโอชา เหมือนน้ำผึ้งหวี่ที่ไม่มีตัวอ่อนฉะนั้น
15
- 01,010008,014,ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพึงพลิกแผ่นดิน ภิกษุทั้งหลายจักได้ฉันง้วนดิน
16
- 01,010008,015,พระพุทธเจ้าข้า.
17
- 01,010008,016,พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรโมคคัลลานะ ก็สัตว์ผู้อาศัยแผ่นดินเล่า เธอจะทำ
18
- 01,010008,017,อย่างไรแก่สัตว์เหล่านั้น?
19
- 01,010008,018,ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักนิรมิตฝ่ามือข้างหนึ่งให้เป็นดุจแผ่นดินใหญ่ ยังสัตว์ผู้อาศัยแผ่นดิน
20
- 01,010008,019,เหล่านั้นให้ไปอยู่ในฝ่ามือนั้น จักพลิกแผ่นดินด้วยมืออีกข้างหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า.
21
- 01,010008,020,ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การพลิกแผ่นดิน เธออย่าพอใจเลย สัตว์ทั้งหลายจะพึง
22
- 01,010008,021,ได้รับผลตรงกันข้าม.
23
- 01,010008,022,ม. ขอประทานพระวโรกาส ขอภิกษุสงฆ์ทั้งหมดพึงไปบิณฑบาตในอุตรกุรุทวีป พระ-
24
- 01,010008,023,พุทธเจ้าข้า.
25
- 01,010008,024,ภ. ก็ภิกษุผู้ไม่มีฤทธิ์เล่า เธอจักทำอย่างไรแก่ภิกษุเหล่านั้น?
26
- 01,010008,025,ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักทำให้ภิกษุทั้งหมดไปได้ พระพุทธเจ้าข้า.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0008,001,ประโยชน์ พระองค์ทรงกำจัดด้วยข้���ปฏิบัติ พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงสอบถาม
3
+ 01,0008,002,ภิกษุทั้งหลายด้วยอาการสองอย่าง คือ จักทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จักทรงบัญญัติสิกขาบทแก่
4
+ 01,0008,003,พระสาวกทั้งหลายอย่างหนึ่ง.
5
+ 01,0008,004,ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสถามท่านพระอานนท์ว่า อานนท์ นั่นเสียงครกหรือหนอ
6
+ 01,0008,005,จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเนื้อความนั้นให้ทรงทราบ พระผู้มีพระภาคตรัสสรรเสริญว่า ดีละ
7
+ 01,0008,006,ดีละ อานนท์ พวกเธอเป็นสัตบุรุษ ชนะวิเศษแล้ว พวกเพื่อนพรหมจารีชั้นหลังจักดูหมิ่นข้าว
8
+ 01,0008,007,สาลีและข้าวสุกอันระคนด้วยเนื้อ.
9
+ 01,0008,008,พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท
10
+ 01,0008,009,[๖] ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายบังคมแล้วนั่ง
11
+ 01,0008,010,ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้เมืองเวรัญชา
12
+ 01,0008,011,มีภิกษาหารน้อย ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้อ
13
+ 01,0008,012,อาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย พระพุทธเจ้าข้า
14
+ 01,0008,013,พื้นเบื้องล่างแห่งแผ่นดินผืนใหญ่นี้ สมบูรณ์ มีรสอันโอชา เหมือนน้ำผึ้งหวี่ที่ไม่มีตัวอ่อนฉะนั้น
15
+ 01,0008,014,ขอประทานพระวโรกาส ข้าพระพุทธเจ้าจะพึงพลิกแผ่นดิน ภิกษุทั้งหลายจักได้ฉันง้วนดิน
16
+ 01,0008,015,พระพุทธเจ้าข้า.
17
+ 01,0008,016,พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรโมคคัลลานะ ก็สัตว์ผู้อาศัยแผ่นดินเล่า เธอจะทำ
18
+ 01,0008,017,อย่างไรแก่สัตว์เหล่านั้น?
19
+ 01,0008,018,ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักนิรมิตฝ่ามือข้างหนึ่งให้เป็นดุจแผ่นดินใหญ่ ยังสัตว์ผู้อาศัยแผ่นดิน
20
+ 01,0008,019,เหล่านั้นให้ไปอยู่ในฝ่ามือนั้น จักพลิกแผ่นดินด้วยมืออีกข้างหนึ่ง พระพุทธเจ้าข้า.
21
+ 01,0008,020,ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การพลิกแผ่นดิน เธออย่าพอใจเลย สัตว์ทั้งหลายจะพึง
22
+ 01,0008,021,ได้รับผลตรงกันข้าม.
23
+ 01,0008,022,ม. ขอประทานพระวโรกาส ขอภิกษุสงฆ์ทั้งหมดพึงไปบิณฑบาตในอุตรกุรุทวีป พระ-
24
+ 01,0008,023,พุทธเจ้าข้า.
25
+ 01,0008,024,ภ. ก็ภิกษุผู้ไม่มีฤทธิ์เล่า เธอจักทำอย่างไรแก่ภิกษุเหล่านั้น?
26
+ 01,0008,025,ม. ข้าพระพุทธเจ้าจักทำให้ภิกษุทั้งหมดไปได้ พระพุทธเจ้าข้า.
01/010009.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010009,001,ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การที่ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดไปบิณฑบาตถึงอุตรกุรุทวีป เธออย่า
3
- 01,010009,002,พอใจเลย.
4
- 01,010009,003,เหตุให้พระศาสนาดำรงอยู่ไม่นานและนาน
5
- 01,010009,004,[๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิด
6
- 01,010009,005,ขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นาน ของ
7
- 01,010009,006,พระองค์ไหนดำรงอยู่นาน ดังนี้ ครั้นเวลาสายัณห์ท่านออกจากที่เร้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ-
8
- 01,010009,007,ภาค ถวายบังคม นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าไปใน
9
- 01,010009,008,ที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ณ ตำบลนี้ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มี
10
- 01,010009,009,พระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นาน ของพระองค์ไหนดำรงอยู่นาน.
11
- 01,010009,010,พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรสารีบุตร พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี
12
- 01,010009,011,พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำรงอยู่นาน ของพระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระ
13
- 01,010009,012,นามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะดำรงอยู่นาน.
14
- 01,010009,013,ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี
15
- 01,010009,014,พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำรงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า?
16
- 01,010009,015,ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภู
17
- 01,010009,016,ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ
18
- 01,010009,017,เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มีพระภาคทั้ง
19
- 01,010009,018,สามพระองค์นั้นมีน้อย สิกขาบทก็มิได้ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็มิได้ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
20
- 01,010009,019,อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
21
- 01,010009,020,เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
22
- 01,010009,021,ยังพระศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับพลัน ดูกรสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บนพื้น
23
- 01,010009,022,กระดาน ยังไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ลมย่อมกระจาย ขจัด กำจัด ซึ่งดอกไม้เหล่านั้นได้ ข้อนั้น
24
- 01,010009,023,เพราะเหตุอะไร เพราะเขาไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ฉันใด เพราะอันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
25
- 01,010009,024,เหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน
26
- 01,010009,025,ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับ
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0009,001,ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การที่ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดไปบิณฑบาตถึงอุตรกุรุทวีป เธออย่า
3
+ 01,0009,002,พอใจเลย.
4
+ 01,0009,003,เหตุให้พระศาสนาดำรงอยู่ไม่นานและนาน
5
+ 01,0009,004,[๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรไปในที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิด
6
+ 01,0009,005,ขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นาน ของ
7
+ 01,0009,006,พระองค์ไหนดำรงอยู่นาน ดังนี้ ครั้นเวลาสายัณห์ท่านออกจากที่เร้นแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ-
8
+ 01,0009,007,ภาค ถวายบังคม นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าไปใน
9
+ 01,0009,008,ที่สงัดหลีกเร้นอยู่ ณ ตำบลนี้ ได้มีความปริวิตกแห่งจิตเกิดขึ้นอย่างนี้ว่า พระศาสนาของพระผู้มี
10
+ 01,0009,009,พระภาคพุทธเจ้าทั้งหลาย พระองค์ไหนไม่ดำรงอยู่นาน ของพระองค์ไหนดำรงอยู่นาน.
11
+ 01,0009,010,พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรสารีบุตร พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี
12
+ 01,0009,011,พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำรงอยู่นาน ของพระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระ
13
+ 01,0009,012,นามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะดำรงอยู่นาน.
14
+ 01,0009,013,ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี
15
+ 01,0009,014,พระนามสิขี และพระนามเวสสภู ไม่ดำรงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า?
16
+ 01,0009,015,ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภู
17
+ 01,0009,016,ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ
18
+ 01,0009,017,เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มีพระภาคทั้ง
19
+ 01,0009,018,สามพระองค์นั้นมีน้อย สิกขาบทก็มิได้ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็มิได้ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
20
+ 01,0009,019,อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
21
+ 01,0009,020,เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจาก��ระกูลต่างกัน จึง
22
+ 01,0009,021,ยังพระศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับพลัน ดูกรสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บนพื้น
23
+ 01,0009,022,กระดาน ยังไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ลมย่อมกระจาย ขจัด กำจัด ซึ่งดอกไม้เหล่านั้นได้ ข้อนั้น
24
+ 01,0009,023,เพราะเหตุอะไร เพราะเขาไม่ได้ร้อยด้วยด้าย ฉันใด เพราะอันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้า
25
+ 01,0009,024,เหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน
26
+ 01,0009,025,ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงยังพระศาสนานั้นให้อันตรธานโดยฉับ
01/010010.csv CHANGED
@@ -1,29 +1,29 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010010,001,พลัน ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรง
3
- 01,010010,002,กำหนดจิตของสาวกด้วยพระหฤทัย แล้วทรงสั่งสอนสาวก.
4
- 01,010010,003,ดูกรสารีบุตร เรื่องเคยมีมาแล้ว พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม
5
- 01,010010,004,เวสสภู ทรงกำหนดจิตภิกษุสงฆ์ด้วยพระหฤทัยแล้วทรงสั่งสอน พร่ำสอน ภิกษุสงฆ์ประมาณ
6
- 01,010010,005,พันรูป ในไพรสนฑ์อันน่าพึงกลัวแห่งหนึ่งว่า พวกเธอจงตรึกอย่างนี้ อย่าได้ตรึกอย่างนั้น จง
7
- 01,010010,006,ทำในใจอย่างนี้ อย่าได้ทำในใจอย่างนั้น จงละส่วนนี้ จงเข้าถึงส่วนนี้อยู่เถิด ดังนี้ ลำดับนั้นแล
8
- 01,010010,007,จิตของภิกษุประมาณพันรูปนั้น อันพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามเวสสภูทรง
9
- 01,010010,008,สั่งสอนอยู่อย่างนั้น ทรงพร่ำสอนอยู่อย่างนั้น ได้หลุดพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น
10
- 01,010010,009,ในเพราะความที่ไพรสณฑ์อันน่าพึงกลัวนั้นซิ เป็นถิ่นที่น่าสยดสยอง จึงมีคำนี้ว่า ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่ง
11
- 01,010010,010,ยังไม่ปราศจากราคะเข้าไปสู่ไพรสณฑ์นั้น โดยมากโลมชาติย่อมชูชัน.
12
- 01,010010,011,ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาค
13
- 01,010010,012,พระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภูไม่ดำรงอยู่นาน.
14
- 01,010010,013,ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ
15
- 01,010010,014,พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดำรงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า?
16
- 01,010010,015,ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนาม
17
- 01,010010,016,กัสสปะ มิได้ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ
18
- 01,010010,017,เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มี
19
- 01,010010,018,พระภาคทั้งสามพระองค์นั้นมีมาก สิกขาบทก็ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
20
- 01,010010,019,อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
21
- 01,010010,020,เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
22
- 01,010010,021,ดำรงพระศาสนานั้นไว้ได้ตลอดระยะกาลยืนนาน ดูกรสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บน
23
- 01,010010,022,พื��นกระดาน ร้อยดีแล้วด้วยด้าย ลมย่อมกระจายไม่ได้ ขจัดไม่ได้ กำจัดไม่ได้ซึ่งดอกไม้เหล่านั้น
24
- 01,010010,023,ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาร้อยดีแล้วด้วยด้าย ฉันใด เพราะอันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาค
25
- 01,010010,024,พุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่
26
- 01,010010,025,ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงดำรงพระศาสนานั้นไว้ได้
27
- 01,010010,026,ตลอดระยะกาลยืนนาน ฉันนั้น เหมือนกัน.
28
- 01,010010,027,ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาค
29
- 01,010010,028,พระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดำรงอยู่นาน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0010,001,พลัน ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรง
3
+ 01,0010,002,กำหนดจิตของสาวกด้วยพระหฤทัย แล้วทรงสั่งสอนสาวก.
4
+ 01,0010,003,ดูกรสารีบุตร เรื่องเคยมีมาแล้ว พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม
5
+ 01,0010,004,เวสสภู ทรงกำหนดจิตภิกษุสงฆ์ด้วยพระหฤทัยแล้วทรงสั่งสอน พร่ำสอน ภิกษุสงฆ์ประมาณ
6
+ 01,0010,005,พันรูป ในไพรสนฑ์อันน่าพึงกลัวแห่งหนึ่งว่า พวกเธอจงตรึกอย่างนี้ อย่าได้ตรึกอย่างนั้น จง
7
+ 01,0010,006,ทำในใจอย่างนี้ อย่าได้ทำในใจอย่างนั้น จงละส่วนนี้ จงเข้าถึงส่วนนี้อยู่เถิด ดังนี้ ลำดับนั้นแล
8
+ 01,0010,007,จิตของภิกษุประมาณพันรูปนั้น อันพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามเวสสภูทรง
9
+ 01,0010,008,สั่งสอนอยู่อย่างนั้น ทรงพร่ำสอนอยู่อย่างนั้น ได้หลุดพ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น
10
+ 01,0010,009,ในเพราะความที่ไพรสณฑ์อันน่าพึงกลัวนั้นซิ เป็นถิ่นที่น่าสยดสยอง จึงมีคำนี้ว่า ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่ง
11
+ 01,0010,010,ยังไม่ปราศจากราคะเข้าไปสู่ไพรสณฑ์นั้น โดยมากโลมชาติย่อมชูชัน.
12
+ 01,0010,011,ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาค
13
+ 01,0010,012,พระนามวิปัสสี พระนามสิขี และพระนามเวสสภูไม่ดำรงอยู่นาน.
14
+ 01,0010,013,ส. อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ
15
+ 01,0010,014,พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดำรงอยู่นาน พระพุทธเจ้าข้า?
16
+ 01,0010,015,ภ. ดูกรสารีบุตร พระผู้มีพระภาคพระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนาม
17
+ 01,0010,016,กัสสปะ ���ิได้ทรงท้อพระหฤทัยเพื่อจะทรงแสดงธรรมโดยพิสดารแก่สาวกทั้งหลาย อนึ่ง สุตตะ
18
+ 01,0010,017,เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ของพระผู้มี
19
+ 01,0010,018,พระภาคทั้งสามพระองค์นั้นมีมาก สิกขาบทก็ทรงบัญญัติ ปาติโมกข์ก็ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
20
+ 01,0010,019,อันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า
21
+ 01,0010,020,เหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
22
+ 01,0010,021,ดำรงพระศาสนานั้นไว้ได้ตลอดระยะกาลยืนนาน ดูกรสารีบุตร ดอกไม้ต่างพรรณที่เขากองไว้บน
23
+ 01,0010,022,พื้นกระดาน ร้อยดีแล้วด้วยด้าย ลมย่อมกระจายไม่ได้ ขจัดไม่ได้ กำจัดไม่ได้ซึ่งดอกไม้เหล่านั้น
24
+ 01,0010,023,ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาร้อยดีแล้วด้วยด้าย ฉันใด เพราะอันตรธานแห่งพระผู้มีพระภาค
25
+ 01,0010,024,พุทธเจ้าเหล่านั้น เพราะอันตรธานแห่งสาวกผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้าเหล่านั้น สาวกชั้นหลังที่
26
+ 01,0010,025,ต่างชื่อกัน ต่างโคตรกัน ต่างชาติกัน ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงดำรงพระศาสนานั้นไว้ได้
27
+ 01,0010,026,ตลอดระยะกาลยืนนาน ฉันนั้น เหมือนกัน.
28
+ 01,0010,027,ดูกรสารีบุตร อันนี้แลเป็นเหตุ อันนี้แลเป็นปัจจัย ให้พระศาสนาของพระผู้มีพระภาค
29
+ 01,0010,028,พระนามกกุสันธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดำรงอยู่นาน.
01/010011.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010011,001,ปรารภเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบท
3
- 01,010011,002,[๘] ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรลุกจากอาสนะ ทำผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง
4
- 01,010011,003,ประณมอัญชลีไปทางพระผู้มีพระภาคแล้วกราบทูลว่า ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระสุคต
5
- 01,010011,004,ถึงเวลาแล้ว ที่จะทรงบัญญัติสิกขาบท ที่จะทรงแสดงปาติโมกข์แก่สาวก อันจะเป็นเหตุให้
6
- 01,010011,005,พระศาสนานี้ยั่งยืนดำรงอยู่ได้นาน.
7
- 01,010011,006,พระผู้มีพระภาคตรัสว่า จงรอก่อน สารีบุตร จงยับยั้งก่อนสารีบุตร ตถาคตผู้เดียวจักรู้
8
- 01,010011,007,กาลในกรณีย์นั้น พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่แสดงปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลา
9
- 01,010011,008,ที่ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ต่อเมื่อใดอาสวัฏ-
10
- 01,010011,009,ฐานิยธรรมบางเหล่า ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดง
11
- 01,010011,010,ปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่
12
- 01,010011,011,ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนาน ต่อ
13
- 01,010011,012,เมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนานแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าย่อม
14
- 01,010011,013,ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก
15
- 01,010011,014,เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ใน
16
- 01,010011,015,ศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็น
17
- 01,010011,016,หมู่ใหญ่โดยแพร่หลายแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้
18
- 01,010011,017,เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวกเพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรม
19
- 01,010011,018,เหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์
20
- 01,010011,019,ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภแล้ว และ
21
- 01,010011,020,อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติ-
22
- 01,010011,021,สิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ ดูกรสารีบุตร
23
- 01,010011,022,ก็ภิกษุสงฆ์ไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ ปราศจากมัวหมองบริสุทธิ์ผุดผ่องตั้งอยู่ในสารคุณ เพราะบรรดา
24
- 01,010011,023,ภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้ ภิกษุที่ทรงคุณธรรมอย่างต่ำ ก็เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็น
25
- 01,010011,024,ผู้เที่ยง เป็นผู้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.
26
- 01,010011,025,เสด็จนิเวศน์เวรัญชพราหมณ์
27
- 01,010011,026,[๙] ครั้นปวารณาพรรษาแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า
28
- 01,010011,027,ดูกรอานนท์ พระตถาคตทั้งหลายยังมิได้บอกลาผู้ที่นิมนต์ให้อยู่จำพรรษาแล้ว จะไม่หลีกไปสู่ที่
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0011,001,ปรารภเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบท
3
+ 01,0011,002,[๘] ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรลุกจากอาสนะ ทำผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง
4
+ 01,0011,003,ประณมอัญชลีไปทางพระผู้มีพระภาคแล้วกราบทูลว่า ถึงเวลาแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ข้าแต่พระสุคต
5
+ 01,0011,004,ถึงเวลาแล้ว ที่จะทรงบัญญัติสิกขาบท ที่จะทรงแสดงปาติโมกข์แก่สาวก อันจะเป็นเหตุให้
6
+ 01,0011,005,พระศาสนานี้ยั่งยืนดำรงอยู่ได้นาน.
7
+ 01,0011,006,พระผู้มีพระภาคตรัสว่า จงรอก่อน สารีบุตร จงยับยั้งก่อนสารีบุตร ตถาคตผู้เดียวจักรู้
8
+ 01,0011,007,กาลในกรณีย์นั้น พระศาสดายังไม่บัญญัติสิกขาบท ยังไม่แสดงปาติโมกข์แก่สาวก ตลอดเวลา
9
+ 01,0011,008,ที่ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ต่อเมื่อใดอาสวัฏ-
10
+ 01,0011,009,ฐานิยธรรมบางเหล่า ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดง
11
+ 01,0011,010,ปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่
12
+ 01,0011,011,ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนาน ต่อ
13
+ 01,0011,012,เมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู้บวชนานแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าย่อม
14
+ 01,0011,013,ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก
15
+ 01,0011,014,เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ใน
16
+ 01,0011,015,ศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็น
17
+ 01,0011,016,หมู่ใหญ่โดยแพร่หลายแล้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้
18
+ 01,0011,017,เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติสิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวกเพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรม
19
+ 01,0011,018,เหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ ตลอดเวลาที่สงฆ์
20
+ 01,0011,019,ยังไม่ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภแล้ว และ
21
+ 01,0011,020,อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ์ในศาสนานี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงจะบัญญัติ-
22
+ 01,0011,021,สิกขาบท แสดงปาติโมกข์แก่สาวก เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้นแหละ ดูกรสารีบุตร
23
+ 01,0011,022,ก็ภิกษุสงฆ์ไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ ปราศจากมัวหมองบริสุทธิ์ผุดผ่องตั้งอยู่ในสารคุณ เพราะบรรดา
24
+ 01,0011,023,ภิกษุ ๕๐๐ รูปนี้ ภิกษุที่ทรงคุณธรรมอย่างต่ำ ก็เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็น
25
+ 01,0011,024,ผู้เที่ยง เป็นผู้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.
26
+ 01,0011,025,เสด็จนิเวศน์เวรัญชพราหมณ์
27
+ 01,0011,026,[๙] ครั้นปวารณาพรรษาแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า
28
+ 01,0011,027,ดูกรอานนท์ พระตถาคตทั้งหลายยังมิได้บอกลาผู้ที่นิมนต์ให้อยู่จำพรรษาแล้ว จะไม่หลีกไปสู่ที่
01/010012.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010012,001,จาริกในชนบท ข้อนี้เป็นประเพณีของพระตถาคตทั้งหลาย มาไปกันเถิดอานนท์ เราจะบอกลา
3
- 01,010012,002,เวรัญชพราหมณ์.
4
- 01,010012,003,ท่านพระอานนท์ทูลสนองพระพุทธดำรัสว่า เป็นดังรับสั่ง พระพุทธเจ้าข้า.
5
- 01,010012,004,ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร มีท่านพระอานนท์เป็น
6
- 01,010012,005,ปัจฉาสมณะ เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้วประทับนั่งเหนือ
7
- 01,010012,006,พระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย ทันใดนั้น เวรัญชพราหมณ์ดำเนินเข้าไปสู่ที่ประทับ ครั้นแล้วถวาย
8
- 01,010012,007,บังคม นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พระองค์รับสั่งว่า ดูกรพราหมณ์ เราเป็นผู้อันท่านนิมนต์
9
- 01,010012,008,อยู่จำพรรษาแล้ว เราขอบอกลาท่าน เราปรารถนาจะหลีกไปสู่ที่จาริกในชนบท.
10
- 01,010012,009,เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า เป็นความจริง ท่านพระโคดม ข้าพเจ้านิมนต์พระองค์อยู่
11
- 01,010012,010,จำพรรษา ก็แต่ว่าไทยธรรมอันใดที่จะพึงถวาย ไทยธรรมอันนั้นข้าพเจ้ายังมิได้ถวาย และไทย-
12
- 01,010012,011,ธรรมนั้นมิใช่ว่าจะไม่มี ทั้งประสงค์จะไม่ถวายก็หาไม่ ภายในไตรมาสนี้ พระองค์จะพึงได้ไทย-
13
- 01,010012,012,ธรรมนั้นจากไหน เพราะฆราวาสมีกิจมาก มีกรณียะมาก ขอท่านพระโคดมพร้อมด้วยพระสงฆ์
14
- 01,010012,013,จงทรงพระกรุณาโปรดรับภัตตาหารของข้าพเจ้า เพื่อเจริญบุญกุศลและปีติปราโมทย์ในวันพรุ่งนี้แก่
15
- 01,010012,014,ข้าพเจ้าด้วยเถิด.
16
- 01,010012,015,พระผู้มีพระภาคทรงรับอัชเฌสนาโดยดุษณีภาพ และแล้วทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์
17
- 01,010012,016,เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วทรงลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ.
18
- 01,010012,017,หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์สั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉันอันประณีตในนิเวศน์ของตน
19
- 01,010012,018,โดยผ่านราตรีนั้นแล้ว ให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว ท่าน
20
- 01,010012,019,พระโคดม ภัตตาหารเสร็จแล้ว.
21
- 01,010012,020,ขณะนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้วถือบาตรจีวรเสด็จพระพุทธ-
22
- 01,010012,021,ดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้ว ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย
23
- 01,010012,022,พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ จึงเวรัญชพราหมณ์อังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนีย-
24
- 01,010012,023,โภชนียาหารอันประณีต ด้วยมือของตนจนใ��้ห้ามภัตรแล้ว ได้ถวายไตรจีวรแด่พระผู้มีพระภาค
25
- 01,010012,024,ผู้เสวยเสร็จทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตรแล้วให้ทรงครอง และถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครอง รูปละ
26
- 01,010012,025,สำรับ จึงพระองค์ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา
27
- 01,010012,026,แล้วทรงลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ ครั้นพระองค์ประทับอยู่ที่เมืองเวรัญชาตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0012,001,จาริกในชนบท ข้อนี้เป็นประเพณีของพระตถาคตทั้งหลาย มาไปกันเถิดอานนท์ เราจะบอกลา
3
+ 01,0012,002,เวรัญชพราหมณ์.
4
+ 01,0012,003,ท่านพระอานนท์ทูลสนองพระพุทธดำรัสว่า เป็นดังรับสั่ง พระพุทธเจ้าข้า.
5
+ 01,0012,004,ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร มีท่านพระอานนท์เป็น
6
+ 01,0012,005,ปัจฉาสมณะ เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้วประทับนั่งเหนือ
7
+ 01,0012,006,พระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย ทันใดนั้น เวรัญชพราหมณ์ดำเนินเข้าไปสู่ที่ประทับ ครั้นแล้วถวาย
8
+ 01,0012,007,บังคม นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พระองค์รับสั่งว่า ดูกรพราหมณ์ เราเป็นผู้อันท่านนิมนต์
9
+ 01,0012,008,อยู่จำพรรษาแล้ว เราขอบอกลาท่าน เราปรารถนาจะหลีกไปสู่ที่จาริกในชนบท.
10
+ 01,0012,009,เวรัญชพราหมณ์กราบทูลว่า เป็นความจริง ท่านพระโคดม ข้าพเจ้านิมนต์พระองค์อยู่
11
+ 01,0012,010,จำพรรษา ก็แต่ว่าไทยธรรมอันใดที่จะพึงถวาย ไทยธรรมอันนั้นข้าพเจ้ายังมิได้ถวาย และไทย-
12
+ 01,0012,011,ธรรมนั้นมิใช่ว่าจะไม่มี ทั้งประสงค์จะไม่ถวายก็หาไม่ ภายในไตรมาสนี้ พระองค์จะพึงได้ไทย-
13
+ 01,0012,012,ธรรมนั้นจากไหน เพราะฆราวาสมีกิจมาก มีกรณียะมาก ขอท่านพระโคดมพร้อมด้วยพระสงฆ์
14
+ 01,0012,013,จงทรงพระกรุณาโปรดรับภัตตาหารของข้าพเจ้า เพื่อเจริญบุญกุศลและปีติปราโมทย์ในวันพรุ่งนี้แก่
15
+ 01,0012,014,ข้าพเจ้าด้วยเถิด.
16
+ 01,0012,015,พระผู้มีพระภาคทรงรับอัชเฌสนาโดยดุษณีภาพ และแล้วทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์
17
+ 01,0012,016,เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา แล้วทรงลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ.
18
+ 01,0012,017,หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์สั่งให้ตกแต่งของเคี้ยวของฉันอันประณีตในนิเวศน์ของตน
19
+ 01,0012,018,โดยผ่านราตรีนั้นแล้ว ให้เจ้าพนักงานไปกราบทูลภัตกาลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ถึงเวลาแล้ว ท่าน
20
+ 01,0012,019,พระโคดม ภัตตาหารเสร็จแล้ว.
21
+ 01,0012,020,ขณะนั้นเป็น���วลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสกแล้วถือบาตรจีวรเสด็จพระพุทธ-
22
+ 01,0012,021,ดำเนินไปสู่นิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์ ครั้นถึงแล้ว ประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์ที่เขาจัดถวาย
23
+ 01,0012,022,พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ จึงเวรัญชพราหมณ์อังคาสภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนีย-
24
+ 01,0012,023,โภชนียาหารอันประณีต ด้วยมือของตนจนให้ห้ามภัตรแล้ว ได้ถวายไตรจีวรแด่พระผู้มีพระภาค
25
+ 01,0012,024,ผู้เสวยเสร็จทรงนำพระหัตถ์ออกจากบาตรแล้วให้ทรงครอง และถวายผ้าคู่ให้ภิกษุครอง รูปละ
26
+ 01,0012,025,สำรับ จึงพระองค์ทรงชี้แจงให้เวรัญชพราหมณ์เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา
27
+ 01,0012,026,แล้วทรงลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ ครั้นพระองค์ประทับอยู่ที่เมืองเวรัญชาตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว
01/010013.csv CHANGED
@@ -1,8 +1,8 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010013,001,เสด็จพระพุทธดำเนินไปยังเมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมืองโสเรยยะ เมืองสังกัสสะ เมือง
3
- 01,010013,002,กัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่น้ำคงคาที่เมืองท่าปยาคะ เสด็จพระพุทธดำเนินถึงพระนครพาราณสี ครั้น
4
- 01,010013,003,พระองค์ประทับอยู่ที่พระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไป
5
- 01,010013,004,สู่พระนครเวสาลี เมื่อเสด็จจาริกไปโดยลำดับ ถึงพระนครเวสาลีนั้นแล้ว ทราบว่าพระองค์ประทับ
6
- 01,010013,005,อยู่ที่กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น.
7
- 01,010013,006,เวรัญชภาณวาร จบ.
8
- 01,010013,007,_______________
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0013,001,เสด็จพระพุทธดำเนินไปยังเมืองท่าปยาคะ ไม่ทรงแวะเมืองโสเรยยะ เมืองสังกัสสะ เมือง
3
+ 01,0013,002,กัณณกุชชะ ทรงข้ามแม่น้ำคงคาที่เมืองท่าปยาคะ เสด็จพระพุทธดำเนินถึงพระนครพาราณสี ครั้น
4
+ 01,0013,003,พระองค์ประทับอยู่ที่พระนครพาราณสีตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไป
5
+ 01,0013,004,สู่พระนครเวสาลี เมื่อเสด็จจาริกไปโดยลำดับ ถึงพระนครเวสาลีนั้นแล้ว ทราบว่าพระองค์ประทับ
6
+ 01,0013,005,อยู่ที่กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น.
7
+ 01,0013,006,เวรัญชภาณวาร จบ.
8
+ 01,0013,007,_______________
01/010014.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010014,001,ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท
3
- 01,010014,002,เรื่องพระสุทินน์
4
- 01,010014,003,[๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ณ สถานที่ไม่ห่างจากพระนครเวสาลี มีบ้านตำบลหนึ่ง ชื่อ
5
- 01,010014,004,กลันทะ ในบ้านนั้นมีบุตรชาวบ้านกลันทะผู้หนึ่ง ชื่อ สุทินน์ เป็นเศรษฐีบุตร ครั้งนั้น สุทินน์
6
- 01,010014,005,กลันทบุตรได้เดินธุระบางอย่างในพระนครเวสาลีกับสหายหลายคน ขณะนั้นแล พระผู้มีพระภาค
7
- 01,010014,006,อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมแล้วประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ สุทินน์ กลันทบุตรได้แลเห็นพระผู้มี
8
- 01,010014,007,พระภาค อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ เพราะได้เห็น ความตรึกนี้ ได้มี
9
- 01,010014,008,แก่เขาว่า ไฉนหนอเราจะพึงได้ฟังธรรมบ้าง แล้วเขาก็เดินผ่านเข้าไปทางบริษัทนั้น ครั้นถึงแล้ว
10
- 01,010014,009,นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ความรำพึงนี้ได้มีแก่เขาผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งฉะนี้ว่า ด้วยวิธี
11
- 01,010014,010,อย่างไรๆ เราจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
12
- 01,010014,011,ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำ
13
- 01,010014,012,ไม่ได้ง่าย ไฉนหนอ เราพึงปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
14
- 01,010014,013,ครั้นบริษัทนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วย
15
- 01,010014,014,ธรรมีกถาแล้ว ลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณหลีกไปแล้ว หลังจากบริษัท
16
- 01,010014,015,ลุกไปแล้วไม่นานนัก เขาได้เดินเข้าไปใกล้ที่ประทับ ถวายบังคมแล้ว นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วน
17
- 01,010014,016,ข้างหนึ่ง.
18
- 01,010014,017,สุทินน์กลันทบุตรนั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่นั้นแล ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธ-
19
- 01,010014,018,เจ้าข้า ด้วยวิธีอย่างไรๆ ข้าพระพุทธเจ้าจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระองค์ทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยัง
20
- 01,010014,019,ครองเรือนอยู่ จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์
21
- 01,010014,020,ที่ขัดแล้ว ทำไม่ได้ง่าย ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจาก
22
- 01,010014,021,เรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชเถิด พระพุทธเจ้าข้า.
23
- 01,010014,022,พระผู้มีพระภาคตรัสถ��มว่า ดูกรสุทินน์ ก็มารดาบิดาอนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวช
24
- 01,010014,023,เป็นบรรพชิตแล้วหรือ?
25
- 01,010014,024,สุทินน์กลันทบุตรกราบทูลว่า ยังไม่ได้อนุญาต พระพุทธเจ้าข้า.
26
- 01,010014,025,ภ. ดูกรสุทินน์ พระตถาคตทั้งหลาย ย่อมไม่บวชบุตรที่มารดาบิดายังมิได้อนุญาต.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0014,001,ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท
3
+ 01,0014,002,เรื่องพระสุทินน์
4
+ 01,0014,003,[๑๐] ก็โดยสมัยนั้นแล ณ สถานที่ไม่ห่างจากพระนครเวสาลี มีบ้านตำบลหนึ่ง ชื่อ
5
+ 01,0014,004,กลันทะ ในบ้านนั้นมีบุตรชาวบ้านกลันทะผู้หนึ่ง ชื่อ สุทินน์ เป็นเศรษฐีบุตร ครั้งนั้น สุทินน์
6
+ 01,0014,005,กลันทบุตรได้เดินธุระบางอย่างในพระนครเวสาลีกับสหายหลายคน ขณะนั้นแล พระผู้มีพระภาค
7
+ 01,0014,006,อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมแล้วประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ สุทินน์ กลันทบุตรได้แลเห็นพระผู้มี
8
+ 01,0014,007,พระภาค อันบริษัทหมู่ใหญ่แวดล้อมประทับนั่งแสดงธรรมอยู่ เพราะได้เห็น ความตรึกนี้ ได้มี
9
+ 01,0014,008,แก่เขาว่า ไฉนหนอเราจะพึงได้ฟังธรรมบ้าง แล้วเขาก็เดินผ่านเข้าไปทางบริษัทนั้น ครั้นถึงแล้ว
10
+ 01,0014,009,นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ความรำพึงนี้ได้มีแก่เขาผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งฉะนี้ว่า ด้วยวิธี
11
+ 01,0014,010,อย่างไรๆ เราจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
12
+ 01,0014,011,ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำ
13
+ 01,0014,012,ไม่ได้ง่าย ไฉนหนอ เราพึงปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
14
+ 01,0014,013,ครั้นบริษัทนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน อาจหาญ ร่าเริง ด้วย
15
+ 01,0014,014,ธรรมีกถาแล้ว ลุกจากที่นั่ง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณหลีกไปแล้ว หลังจากบริษัท
16
+ 01,0014,015,ลุกไปแล้วไม่นานนัก เขาได้เดินเข้าไปใกล้ที่ประทับ ถวายบังคมแล้ว นั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่ควรส่วน
17
+ 01,0014,016,ข้างหนึ่ง.
18
+ 01,0014,017,สุทินน์กลันทบุตรนั่งเฝ้าอยู่ ณ ที่นั้นแล ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธ-
19
+ 01,0014,018,เจ้าข้า ด้วยวิธีอย่างไรๆ ข้าพระพุทธเจ้าจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระองค์ทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยัง
20
+ 01,0014,019,ครองเรือนอยู่ จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์
21
+ 01,0014,020,ที่���ัดแล้ว ทำไม่ได้ง่าย ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจาก
22
+ 01,0014,021,เรือนบวชเป็นบรรพชิต ขอพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชเถิด พระพุทธเจ้าข้า.
23
+ 01,0014,022,พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรสุทินน์ ก็มารดาบิดาอนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวช
24
+ 01,0014,023,เป็นบรรพชิตแล้วหรือ?
25
+ 01,0014,024,สุทินน์กลันทบุตรกราบทูลว่า ยังไม่ได้อนุญาต พระพุทธเจ้าข้า.
26
+ 01,0014,025,ภ. ดูกรสุทินน์ พระตถาคตทั้งหลาย ย่อมไม่บวชบุตรที่มารดาบิดายังมิได้อนุญาต.
01/010015.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010015,001,สุ. ข้าพระพุทธเจ้าจักกระทำโดยวิธีที่มารดาบิดาจักอนุญาตให้ข้าพระพุทธเจ้าออกจากเรือน
3
- 01,010015,002,บวชเป็นบรรพชิต พระพุทธเจ้าข้า.
4
- 01,010015,003,ขออนุญาตออกบวช
5
- 01,010015,004,[๑๑] หลังจากนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรเสร็จการเดินธุระที่ในพระนครเวสาลีนั้นแล้ว
6
- 01,010015,005,กลับสู่กลันทคามเข้าหามารดาบิดา แล้วได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วยวิธี
7
- 01,010015,006,อย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
8
- 01,010015,007,ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำ
9
- 01,010015,008,ไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
10
- 01,010015,009,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
11
- 01,010015,010,เมื่อสุทินน์กลันทบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์
12
- 01,010015,011,เจ้าเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยง
13
- 01,010015,012,นางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่
14
- 01,010015,013,ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนเราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
15
- 01,010015,014,แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
16
- 01,010015,015,วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
17
- 01,010015,016,จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
18
- 01,010015,017,ทำไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
19
- 01,010015,018,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
20
- 01,010015,019,แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
21
- 01,010015,020,คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
22
- 01,010015,021,มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
23
- 01,010015,022,เร���จักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
24
- 01,010015,023,แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
25
- 01,010015,024,วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
26
- 01,010015,025,จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
27
- 01,010015,026,ทำไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
28
- 01,010015,027,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0015,001,สุ. ข้าพระพุทธเจ้าจักกระทำโดยวิธีที่มารดาบิดาจักอนุญาตให้ข้าพระพุทธเจ้าออกจากเรือน
3
+ 01,0015,002,บวชเป็นบรรพชิต พระพุทธเจ้าข้า.
4
+ 01,0015,003,ขออนุญาตออกบวช
5
+ 01,0015,004,[๑๑] หลังจากนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรเสร็จการเดินธุระที่ในพระนครเวสาลีนั้นแล้ว
6
+ 01,0015,005,กลับสู่กลันทคามเข้าหามารดาบิดา แล้วได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วยวิธี
7
+ 01,0015,006,อย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่ จะ
8
+ 01,0015,007,ประพฤติพรหมจรรย์นี้ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว ทำ
9
+ 01,0015,008,ไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวด ครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
10
+ 01,0015,009,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
11
+ 01,0015,010,เมื่อสุทินน์กลันทบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์
12
+ 01,0015,011,เจ้าเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยง
13
+ 01,0015,012,นางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่
14
+ 01,0015,013,ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนเราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
15
+ 01,0015,014,แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
16
+ 01,0015,015,วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
17
+ 01,0015,016,จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริส���ทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
18
+ 01,0015,017,ทำไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
19
+ 01,0015,018,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
20
+ 01,0015,019,แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
21
+ 01,0015,020,คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
22
+ 01,0015,021,มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
23
+ 01,0015,022,เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
24
+ 01,0015,023,แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะมารดาบิดาว่า ข้าแต่มารดาบิดา ด้วย
25
+ 01,0015,024,วิธีอย่างไรๆ ลูกจึงจะรู้ทั่วถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว อันบุคคลที่ยังครองเรือนอยู่
26
+ 01,0015,025,จะประพฤติพรหมจรรย์นี้ ให้บริบูรณ์โดยส่วนเดียว ให้บริสุทธิ์โดยส่วนเดียว ดุจสังข์ที่ขัดแล้ว
27
+ 01,0015,026,ทำไม่ได้ง่าย ลูกปรารถนาจะปลงผมและหนวดครองผ้ากาสายะออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
28
+ 01,0015,027,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้ลูกออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
01/010016.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010016,001,แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
3
- 01,010016,002,คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
4
- 01,010016,003,ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
5
- 01,010016,004,เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
6
- 01,010016,005,ทันใดนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรแน่ใจว่า มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เราออกจากเรือนบวช
7
- 01,010016,006,เป็นบรรพชิต จึงนอนลงบนพื้นอันปราศจากเครื่องลาด ณ สถานที่นั้นเอง ด้วยตัดสินใจว่า การ
8
- 01,010016,007,ตายหรือการบวชจักมีแก่เราในสถานที่นี้แหละ และแล้วเขาไม่บริโภคอาหารแม้หนึ่งมื้อ ไม่บริโภค
9
- 01,010016,008,อาหารแม้สองมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สามมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สี่มื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้ห้ามื้อ
10
- 01,010016,009,ไม่บริโภคอาหารแม้หกมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้เจ็ดมื้อ.
11
- 01,010016,010,มารดาบิดาไม่อนุญาต
12
- 01,010016,011,[๑๒] จะอย่างไรก็ตาม มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำนี้ว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็น
13
- 01,010016,012,บุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนม
14
- 01,010016,013,ประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะ
15
- 01,010016,014,จาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้น
16
- 01,010016,015,เถิด ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญ
17
- 01,010016,016,อยู่เถิด เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
18
- 01,010016,017,เมื่อมารดาบิดากล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
19
- 01,010016,018,แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
20
- 01,010016,019,คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
21
- 01,010016,020,มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
22
- 01,010016,021,เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิดลูกสุทินน์
23
- 01,010016,022,จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด เราไม่อนุญาต
24
- 01,010016,023,ให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
25
- 01,010016,024,แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
26
- 01,010016,025,แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
27
- 01,010016,026,คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0016,001,แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
3
+ 01,0016,002,คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
4
+ 01,0016,003,ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
5
+ 01,0016,004,เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า.
6
+ 01,0016,005,ทันใดนั้นแล สุทินน์กลันทบุตรแน่ใจว่า มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เราออกจากเรือนบวช
7
+ 01,0016,006,เป็นบรรพชิต จึงนอนลงบนพื้นอันปราศจากเครื่องลาด ณ สถานที่นั้นเอง ด้วยตัดสินใจว่า การ
8
+ 01,0016,007,ตายหรือการบวชจักมีแก่เราในสถานที่นี้แหละ และแล้วเขาไม่บริโภคอาหารแม้หนึ่งมื้อ ไม่บริโภค
9
+ 01,0016,008,อาหารแม้สองมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สามมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้สี่มื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้ห้ามื้อ
10
+ 01,0016,009,ไม่บริโภคอาหารแม้หกมื้อ ไม่บริโภคอาหารแม้เจ็ดมื้อ.
11
+ 01,0016,010,มารดาบิดาไม่อนุญาต
12
+ 01,0016,011,[๑๒] จะอย่างไรก็ตาม มารดาบิดาของเขาได้กล่าวคำนี้ว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็น
13
+ 01,0016,012,บุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนม
14
+ 01,0016,013,ประคบประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะ
15
+ 01,0016,014,จาก เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้น
16
+ 01,0016,015,เถิด ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญ
17
+ 01,0016,016,อยู่เถิด เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
18
+ 01,0016,017,เมื่อมารดาบิดากล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
19
+ 01,0016,018,แม้ครั้งที่สอง มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่��วคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
20
+ 01,0016,019,คนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงม
21
+ 01,0016,020,มาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
22
+ 01,0016,021,เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิดลูกสุทินน์
23
+ 01,0016,022,จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด เราไม่อนุญาต
24
+ 01,0016,023,ให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต
25
+ 01,0016,024,แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
26
+ 01,0016,025,แม้ครั้งที่สาม มารดาบิดาของเขาก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า ลูกสุทินน์ เจ้าเท่านั้นเป็นบุตร
27
+ 01,0016,026,คนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของเรา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบ
01/010017.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010017,001,ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
3
- 01,010017,002,เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิด
4
- 01,010017,003,ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่มรื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด
5
- 01,010017,004,เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
6
- 01,010017,005,แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
7
- 01,010017,006,พวกสหายช่วยเจรจา
8
- 01,010017,007,[๑๓] ยิ่งกว่านั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้เข้าไปหาสุทินน์กลันทบุตร
9
- 01,010017,008,ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ว่า สุทินน์เพื่อนรัก เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่
10
- 01,010017,009,พอใจของมารดาบิดา บิดาเป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วย
11
- 01,010017,010,ความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตามมารดาบิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
12
- 01,010017,011,ท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์
13
- 01,010017,012,เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด
14
- 01,010017,013,มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
15
- 01,010017,014,เมื่อขอกล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
16
- 01,010017,015,แม้ครั้งที่สอง พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก
17
- 01,010017,016,เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของมารดาบิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
18
- 01,010017,017,อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
19
- 01,010017,018,มารดาบิดา ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
20
- 01,010017,019,เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง
21
- 01,010017,020,จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน
22
- 01,010017,021,บวชเป็นบรรพชิต.
23
- 01,010017,022,แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
24
- 01,010017,023,แม้ครั้งที่สาม พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อ���รัก
25
- 01,010017,024,เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของมารดาบิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
26
- 01,010017,025,อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0017,001,ประหงมมาด้วยความสุข เจ้าไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เจ้าจะตายเราก็ไม่ปรารถนาจะจาก
3
+ 01,0017,002,เหตุไฉน เราจักอนุญาตให้เจ้าผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า จงลุกขึ้นเถิด
4
+ 01,0017,003,ลูกสุทินน์ จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่มรื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด
5
+ 01,0017,004,เราไม่อนุญาตให้เจ้าออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
6
+ 01,0017,005,แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
7
+ 01,0017,006,พวกสหายช่วยเจรจา
8
+ 01,0017,007,[๑๓] ยิ่งกว่านั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้เข้าไปหาสุทินน์กลันทบุตร
9
+ 01,0017,008,ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ว่า สุทินน์เพื่อนรัก เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่
10
+ 01,0017,009,พอใจของมารดาบิดา บิดาเป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วย
11
+ 01,0017,010,ความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตามมารดาบิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉน
12
+ 01,0017,011,ท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์
13
+ 01,0017,012,เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด
14
+ 01,0017,013,มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต.
15
+ 01,0017,014,เมื่อขอกล่าวอย่างนี้แล้ว สุทินน์กลันทบุตรได้นิ่ง.
16
+ 01,0017,015,แม้ครั้งที่สอง พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก
17
+ 01,0017,016,เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รักเป็นที่พอใจของมารดาบิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
18
+ 01,0017,017,อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
19
+ 01,0017,018,มารดาบิดา ก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
20
+ 01,0017,019,เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง
21
+ 01,0017,020,จงสมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจา��เรือน
22
+ 01,0017,021,บวชเป็นบรรพชิต.
23
+ 01,0017,022,แม้ครั้งที่สอง สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
24
+ 01,0017,023,แม้ครั้งที่สาม พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร ก็ได้กล่าวคำนี้กะเขาว่า สุทินน์เพื่อนรัก
25
+ 01,0017,024,เธอเท่านั้นเป็นบุตรคนเดียว เป็นที่รัก เป็นที่พอใจของมารดาบิดา เป็นผู้เจริญมาด้วยความสุข
26
+ 01,0017,025,อันพี่เลี้ยงนางนมประคบประหงมมาด้วยความสุข เธอไม่รู้จักความทุกข์สักน้อย แม้เธอจะตาย
01/010018.csv CHANGED
@@ -1,29 +1,29 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010018,001,มารดาบิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
3
- 01,010018,002,เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จง
4
- 01,010018,003,สมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน
5
- 01,010018,004,บวชเป็นบรรพชิต.
6
- 01,010018,005,แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
7
- 01,010018,006,เมื่อไม่สำเร็จ พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร จึงเข้าไปหามารดาบิดาของสุทินน์
8
- 01,010018,007,กลันทบุตร ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ว่า ข้าแต่มารดาบิดา สุทินน์นั่นนอนลงบนพื้นอันปราศจาก
9
- 01,010018,008,เครื่องลาด ด้วยตัดสินใจว่าการตายหรือการบวชจักมีแก่เรา ณ ที่นี้แหละ ถ้ามารดาบิดาไม่
10
- 01,010018,009,อนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ความตายจักมาถึง ณ ที่นั้นเอง ถ้าอนุญาต
11
- 01,010018,010,ให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตก็จักได้เห็นเขาแม้ผู้บวชแล้ว ถ้าสุทินน์จักไม่ยินดีใน
12
- 01,010018,011,การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เขาจักมีทางดำเนินอื่นอะไรเล่า เขาจักกลับมา ณ ที่นี้แหละ
13
- 01,010018,012,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
14
- 01,010018,013,อนุญาตจ้ะ ให้ลูกสุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มารดาบิดากล่าวยินยอม.
15
- 01,010018,014,สุทินน์กลันทบุตรออกบวช
16
- 01,010018,015,[๑๔] ทันใดนั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร เข้าไปหาสุทินน์กลันทบุตร แล้ว
17
- 01,010018,016,ได้บอกเขาว่า ลุกขึ้นเถิด สุทินน์เพื่อนรัก มารดาบิดาอนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็น
18
- 01,010018,017,บรรพชิตแล้ว พอสุทินน์กลันทบุตรได้ทราบว่า มารดาบิดาอนุญาตให้ออกจากเรือนบวชเป็น
19
- 01,010018,018,บรรพชิตแล้ว ก็ร่าเริงดีใจ ลุกขึ้นลูบเนื้อลูบตัวด้วยฝ่ามือ ครั้นยาเยียกำลังอยู่สองสามวันแล้ว
20
- 01,010018,019,จึงเข้าไปสู่พุทธสำนัก ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค นั่งเฝ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เขานั่งเฝ้าอยู่
21
- 01,010018,020,อย่างนั้นแล ได้กราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้าอันมารดาบิดาอนุญาตให้ออกจากเรือน
22
- 01,010018,021,บวชเป็นบรรพชิตแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ขอพระองค์ได้โปรดให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชเถิดพระ-
23
- 01,010018,022,พุทธเจ้าข้า.
24
- 01,010018,023,สุทินน์กลันทบุตรได้รับบรรพชาอุปสมบทในพุทธสำนักดังนี้ ก็แลเห็น��่านพระสุทินน์
25
- 01,010018,024,อุปสมบทแล้วไม่นาน ประพฤติสมาทานธุดงคคุณเห็นปานนี้ คือ เป็นผู้ถืออรัญญิกธุดงค์
26
- 01,010018,025,ปิณฑปาติกธุดงค์ ปังสุกูลิกธุดงค์ สปทานจาริกธุดงค์ พำนักอยู่ใกล้หมู่บ้านชาววัชชีตำบลหนึ่ง.
27
- 01,010018,026,พระสุทินน์เยี่ยมสกุล
28
- 01,010018,027,[๑๕] ก็โดยสมัยนั้นแล วัชชีชนบทอัตคัดอาหาร ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มี
29
- 01,010018,028,กระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือ
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0018,001,มารดาบิดาก็ไม่ปรารถนาจะจาก เหตุไฉนท่านทั้งสองจักอนุญาตให้เธอผู้ยังมีชีวิตอยู่ ออกจาก
3
+ 01,0018,002,เรือนบวชเป็นบรรพชิตได้เล่า ลุกขึ้นเถิดสุทินน์เพื่อนรัก จงกิน จงดื่ม และจงรื่นเริง จง
4
+ 01,0018,003,สมัครใจกิน ดื่ม รื่นเริง บริโภคกาม ทำบุญอยู่เถิด มารดาบิดาไม่อนุญาตให้เธอออกจากเรือน
5
+ 01,0018,004,บวชเป็นบรรพชิต.
6
+ 01,0018,005,แม้ครั้งที่สาม สุทินน์กลันทบุตรก็ได้นิ่ง.
7
+ 01,0018,006,เมื่อไม่สำเร็จ พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร จึงเข้าไปหามารดาบิดาของสุทินน์
8
+ 01,0018,007,กลันทบุตร ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้ว่า ข้าแต่มารดาบิดา สุทินน์นั่นนอนลงบนพื้นอันปราศจาก
9
+ 01,0018,008,เครื่องลาด ด้วยตัดสินใจว่าการตายหรือการบวชจักมีแก่เรา ณ ที่นี้แหละ ถ้ามารดาบิดาไม่
10
+ 01,0018,009,อนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ความตายจักมาถึง ณ ที่นั้นเอง ถ้าอนุญาต
11
+ 01,0018,010,ให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตก็จักได้เห็นเขาแม้ผู้บวชแล้ว ถ้าสุทินน์จักไม่ยินดีใน
12
+ 01,0018,011,การออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เขาจักมีทางดำเนินอื่นอะไรเล่า เขาจักกลับมา ณ ที่นี้แหละ
13
+ 01,0018,012,ขอมารดาบิดาจงอนุญาตให้สุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตเถิด.
14
+ 01,0018,013,อนุญาตจ้ะ ให้ลูกสุทินน์ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มารดาบิดากล่าวยินยอม.
15
+ 01,0018,014,สุทินน์กลันทบุตรออกบวช
16
+ 01,0018,015,[๑๔] ทันใดนั้น พวกสหายของสุทินน์กลันทบุตร เข้าไปหาสุทินน์กลันทบุตร แล้ว
17
+ 01,0018,016,ได้บอกเขาว่า ลุกขึ้นเถิด สุทินน์เพื่อนรัก มารดาบิดาอนุญาตให้เธอออกจากเรือนบวชเป็น
18
+ 01,0018,017,บรรพชิตแล้ว พอสุทินน์กลันทบุตรได้ทราบว่า มารดาบิดาอนุญาตให้ออกจากเรือนบวชเป็น
19
+ 01,0018,018,บรรพชิตแล้ว ก็ร่าเริงดีใจ ลุกขึ้นลูบเนื้อลูบตัวด้วยฝ่ามือ ครั้นยาเยียกำลังอยู่สองสามวันแล้ว
20
+ 01,0018,019,จึงเข้าไปสู่พุทธสำนัก ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค นั่งเฝ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เขานั่งเฝ้าอยู่
21
+ 01,0018,020,อย่างนั้นแล ได้กราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคว่า ข้าพระพุทธเจ้าอันมารดาบิดาอนุญาตให้ออกจากเรือน
22
+ 01,0018,021,บวชเป็นบรรพชิตแล้ว พระพุทธเจ้าข้า ขอพระองค์ได้โปรดให้ข้าพระพุทธเจ้าบวชเถิดพระ-
23
+ 01,0018,022,พุทธเจ้าข้า.
24
+ 01,0018,023,สุทินน์กลันทบุตรได้รับบรรพชาอุปสมบทในพุทธสำนักดังนี้ ก็แลเห็นท่านพระสุทินน์
25
+ 01,0018,024,อุปสมบทแล้วไม่นาน ประพฤติสมาทานธุดงคคุณเห็นปานนี้ คือ เป็นผู้ถืออรัญญิกธุดงค์
26
+ 01,0018,025,ปิณฑปาติกธุดงค์ ปังสุกูลิกธุดงค์ สปทานจาริกธุดงค์ พำนักอยู่ใกล้หมู่บ้านชาววัชชีตำบลหนึ่ง.
27
+ 01,0018,026,พระสุทินน์เยี่ยมสกุล
28
+ 01,0018,027,[๑๕] ก็โดยสมัยนั้นแล วัชชีชนบทอัตคัดอาหาร ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มี
29
+ 01,0018,028,กระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือ
01/010019.csv CHANGED
@@ -1,29 +1,29 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010019,001,บาตรแสวงหาก็ทำไม่ได้ง่าย ครั้งนั้น ท่านพระสุทินน์ได้มีความคิดเห็นว่า เวลานี้วัชชีชนบทอัตคัด
3
- 01,010019,002,อาหาร ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุ-
4
- 01,010019,003,สงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย ก็แลญาติของเราในพระนคร
5
- 01,010019,004,เวสาลีมีมาก ล้วนเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์
6
- 01,010019,005,ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก ไฉนหนอ เราพึงเข้าไปพำนักอยู่ใกล้หมู่ญาติ
7
- 01,010019,006,แม้หมู่ญาติก็จักได้อาศัยเราให้ทานทำบุญ และภิกษุทั้งหลายก็จักได้ลาภ ทั้งเราก็จักไม่ลำบากด้วย
8
- 01,010019,007,บิณฑบาต ดั่งนั้น ท่านพระสุทินน์จึงเก็บงำเสนาสนะ ถือบาตรจีวรหลีกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่
9
- 01,010019,008,พระนครเวสาลี เที่ยวจาริกไปโดยลำดับ ถึงพระนครเวสาลีแล้ว ทราบว่า เธอพำนักอยู่
10
- 01,010019,009,ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น.
11
- 01,010019,010,บรรดาญาติของท่านพระสุทินน์ ได้ทราบข่าวว่า พระสุทินน์กลันทบุตรกลับมาสู่พระนคร
12
- 01,010019,011,เวสาลีแล้ว จึงนำภัตตาหารมีประมาณ ๖๐ หม้อไปถวายท่านพระสุทินน์ๆ สละภัตตาหารประมาณ
13
- 01,010019,012,๖๐ หม้อนั้นถวายแก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วเช้าวันนั้นครองอันตรวาสกถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาต
14
- 01,010019,013,ยังกลันทคาม เที่ยวบิณฑบาตไปตามลำดับตรอกในกลันทคาม ใกล้จะถึงเรือนบิดาของตน
15
- 01,010019,014,ก็พอดีทาสีของญาติท่านพระสุทินน์ กำลังมีความมุ่งหมายจะเทขนมสดที่ค้างคืน จึงท่านพระสุทินน์
16
- 01,010019,015,ได้กล่าวคำนี้กะนางว่า น้องหญิง ถ้าของนั้นมีอันจะต้องทิ้งเป็นธรรมดา ขอท่านจงเกลี่ยลงใน
17
- 01,010019,016,บาตรของเรานี้เถิด ขณะที่นางกำลังเกลี่ยขนมสดที่ค้างคืนนั้นลงในบาตร นางจำเค้ามือ เท้าและ
18
- 01,010019,017,เสียงของพระสุทินน์ได้ จึงรีบเข้าไปหามารดาของท่านพระสุทินน์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้กะ
19
- 01,010019,018,มารดาของท่านว่า คุณนายเจ้าขา โปรดทราบ พระสุทินน์บุตรคุณนายกลับมาแล้วเจ้าค่ะ.
20
- 01,010019,019,แม่ทาสี ถ้าเจ้าพูดจริง เราจะปลดเจ้ามิให้เป็นทาสี มารดาท่านพระสุทินน์กล่าว.
21
- 01,010019,020,ขณะที่ท่านพระสุทินน์กำลังอาศัยพะไลเรือนแห่งหนึ่งฉันขนมสดที่ค้างคืนนั้น พอดีบิดา
22
- 01,010019,021,ของท่านพระสุทินน์เดินกลับมาจากที่ทำงาน ได้แลเห็นท่านพระสุทินน์กำลังอาศัยพะไลเรือน
23
- 01,010019,022,แห่งหนึ่งฉันขนมสดที่ค้างคืนนั้นอยู่ จึงเดินเข้าไปหาท่านพระสุทินน์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้
24
- 01,010019,023,กะท่านว่า มีอยู่หรือ พ่อสุทินน์ นี่พ่อจักฉันขนมสดที่ค้างคืน พ่อสุทินน์ พ่อควรไปเรือน
25
- 01,010019,024,ของตนมิใช่หรือ.
26
- 01,010019,025,คุณโยม รูปได้ไปสู่เรือนของคุณโยมแล้ว ขนมสดที่ค้างคืนนี้ รูปได้มาแต่เรือนของ
27
- 01,010019,026,คุณโยม พระสุทินน์ตอบ.
28
- 01,010019,027,ทันใดนั้น บิดาของท่านพระสุทินน์จับแขนท่าน แล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านว่า มาเถิด
29
- 01,010019,028,พ่อสุทินน์ เราจักไปเรือนกัน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0019,001,บาตรแสวงหาก็ทำไม่ได้ง่าย ครั้งนั้น ท่านพระสุทินน์ได้มีความคิดเห็นว่า เวลานี้วัชชีชนบทอัตคัด
3
+ 01,0019,002,อาหาร ประชาชนหาเลี้ยงชีพฝืดเคือง มีกระดูกคนตายขาวเกลื่อน ต้องมีสลากซื้ออาหาร ภิกษุ-
4
+ 01,0019,003,สงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหา ก็ทำไม่ได้ง่าย ก็แลญาติของเราในพระนคร
5
+ 01,0019,004,เวสาลีมีมาก ล้วนเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์
6
+ 01,0019,005,ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก ไฉนหนอ เราพึงเข้าไปพำนักอยู่ใกล้หมู่ญาติ
7
+ 01,0019,006,แม้หมู่ญาติก็จักได้อาศัยเราให้ทานทำบุญ และภิกษุทั้งหลายก็จักได้ลาภ ทั้งเราก็จักไม่ลำบากด้วย
8
+ 01,0019,007,บิณฑบาต ดั่งนั้น ท่านพระสุทินน์จึงเก็บงำเสนาสนะ ถือบาตรจีวรหลีกไปโดยมรรคาอันจะไปสู่
9
+ 01,0019,008,พระนครเวสาลี เที่ยวจาริกไปโดยลำดับ ถึงพระนครเวสาลีแล้ว ทราบว่า เธอพำนักอยู่
10
+ 01,0019,009,ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีนั้น.
11
+ 01,0019,010,บรรดาญาติของท่านพระสุทินน์ ได้ทราบข่าวว่า พระสุทินน์กลันทบุตรกลับมาสู่พระนคร
12
+ 01,0019,011,เวสาลีแล้ว จึงนำภัตตาหารมีประมาณ ๖๐ หม้อไปถวายท่านพระสุทินน์ๆ สละภัตตาหารประมาณ
13
+ 01,0019,012,๖๐ หม้อนั้นถวายแก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วเช้าวันนั้นครองอันตรวาสกถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาต
14
+ 01,0019,013,ยังกลันทคาม เที่ยวบิณฑบาตไปตามลำดับตรอกในกลันทคาม ใกล้จะถึงเรือนบิดาของตน
15
+ 01,0019,014,ก็พอดีทาสีของญาติท่านพระสุทินน์ กำลังมีความมุ่งหมายจะเทขนมสดที่ค้างคืน จึงท่านพระสุทินน์
16
+ 01,0019,015,ได้กล่าวคำนี้กะนางว่า น้องหญิง ถ้าของนั้นมีอันจะต้องท��้งเป็นธรรมดา ขอท่านจงเกลี่ยลงใน
17
+ 01,0019,016,บาตรของเรานี้เถิด ขณะที่นางกำลังเกลี่ยขนมสดที่ค้างคืนนั้นลงในบาตร นางจำเค้ามือ เท้าและ
18
+ 01,0019,017,เสียงของพระสุทินน์ได้ จึงรีบเข้าไปหามารดาของท่านพระสุทินน์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้กะ
19
+ 01,0019,018,มารดาของท่านว่า คุณนายเจ้าขา โปรดทราบ พระสุทินน์บุตรคุณนายกลับมาแล้วเจ้าค่ะ.
20
+ 01,0019,019,แม่ทาสี ถ้าเจ้าพูดจริง เราจะปลดเจ้ามิให้เป็นทาสี มารดาท่านพระสุทินน์กล่าว.
21
+ 01,0019,020,ขณะที่ท่านพระสุทินน์กำลังอาศัยพะไลเรือนแห่งหนึ่งฉันขนมสดที่ค้างคืนนั้น พอดีบิดา
22
+ 01,0019,021,ของท่านพระสุทินน์เดินกลับมาจากที่ทำงาน ได้แลเห็นท่านพระสุทินน์กำลังอาศัยพะไลเรือน
23
+ 01,0019,022,แห่งหนึ่งฉันขนมสดที่ค้างคืนนั้นอยู่ จึงเดินเข้าไปหาท่านพระสุทินน์ ครั้นถึงแล้วได้กล่าวคำนี้
24
+ 01,0019,023,กะท่านว่า มีอยู่หรือ พ่อสุทินน์ นี่พ่อจักฉันขนมสดที่ค้างคืน พ่อสุทินน์ พ่อควรไปเรือน
25
+ 01,0019,024,ของตนมิใช่หรือ.
26
+ 01,0019,025,คุณโยม รูปได้ไปสู่เรือนของคุณโยมแล้ว ขนมสดที่ค้างคืนนี้ รูปได้มาแต่เรือนของ
27
+ 01,0019,026,คุณโยม พระสุทินน์ตอบ.
28
+ 01,0019,027,ทันใดนั้น บิดาของท่านพระสุทินน์จับแขนท่าน แล้วได้กล่าวคำนี้กะท่านว่า มาเถิด
29
+ 01,0019,028,พ่อสุทินน์ เราจักไปเรือนกัน.
01/010020.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010020,001,ลำดับนั้น ท่านพระสุทินน์ได้เดินตามเข้าไปสู่เรือนบิดาของตน ครั้นถึงแล้วนั่งบน
3
- 01,010020,002,อาสนะที่เขาจัดถวาย จึงบิดาของท่านได้กล่าวคำนี้กะท่านว่า จงฉันเถิดพ่อสุทินน์.
4
- 01,010020,003,อย่าเลยคุณโยม ภัตกิจในวันนี้ รูปทำเสร็จแล้ว พระสุทินน์กล่าวตอบ.
5
- 01,010020,004,บิดาอาราธนาว่า พ่อสุทินน์ ขอพ่อจงรับนิมนต์ฉันภัตตาหารในวันพรุ่งนี้เถิด.
6
- 01,010020,005,ท่านพระสุทินน์รับนิมนต์โดยดุษณีภาพ และแล้วลุกจากอาสนะหลีกไป.
7
- 01,010020,006,บิดาวิงวอนให้สึก
8
- 01,010020,007,[๑๖] ครั้งนั้นแล มารดาของท่านพระสุทินน์สั่งให้ไล้ทาพื้นแผ่นดินด้วยโคมัยสด ให้
9
- 01,010020,008,จัดทำกองทรัพย์ไว้สองกอง คือเงินกอง ๑ ทองกอง ๑ เป็นกองใหญ่ กระทั่งบุรุษยืนอยู่ข้างนี้
10
- 01,010020,009,ไม่แลเห็นบุรุษยืนอยู่ข้างโน้น บุรุษยืนอยู่ข้างโน้นก็ไม่แลเห็นบุรุษยืนอยู่ข้างนี้ ให้ปิดกองทรัพย์
11
- 01,010020,010,เหล่านั้นด้วยลำแพน ให้จัดอาสนะไว้ในท่ามกลาง ให้แวดวงด้วยม่าน เสร็จโดยล่วงราตรีนั้น
12
- 01,010020,011,แล้วเรียกปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์มาสั่งว่า ลูกหญิง เพราะลูกสุทินน์จะมา เจ้าจง
13
- 01,010020,012,แต่งกายด้วยเครื่องประดับ อันจะเป็นเหตุให้ลูกสุทินน์เกิดความรักใคร่พอใจ.
14
- 01,010020,013,อย่างนั้นเจ้าข้า นางรับคำมารดาของท่านพระสุทินน์.
15
- 01,010020,014,ณ เวลาเช้าวันนั้นแล ท่านพระสุทินน์ครองอันตรวาสก ถือบาตรจีวรเข้าไปสู่เรือน
16
- 01,010020,015,บิดาของตน แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาจัดถวาย.
17
- 01,010020,016,ลำดับนั้นแล บิดาของท่านพระสุทินน์เข้าไปหาท่านพระสุทินน์ ครั้นแล้วให้คนเปิด
18
- 01,010020,017,กองทรัพย์เหล่านั้นออก ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์ นี้ทรัพย์ของมารดาพ่อ
19
- 01,010020,018,ซึ่งเป็นสินเดิมฝ่ายหญิงที่ได้มาทางฝ่ายมารดา ส่วนของบิดาต่างหาก ส่วนของปู่ต่างหาก พ่อ
20
- 01,010020,019,สุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ มาเถิด พ่อสุทินน์
21
- 01,010020,020,พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
22
- 01,010020,021,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
23
- 01,010020,022,แม้ครั้งที่สอง บิดาของท่านพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์
24
- 01,010020,023,นี้ทรัพย์ของมารดาพ่อ ซึ่งเป็นสินเดิมฝ่ายหญิงที่ได้มาทาง���่ายมารดา ส่วนของบิดาต่างหาก ส่วน
25
- 01,010020,024,ของปู่ต่างหาก พ่อสุทินน์ พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ
26
- 01,010020,025,มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
27
- 01,010020,026,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0020,001,ลำดับนั้น ท่านพระสุทินน์ได้เดินตามเข้าไปสู่เรือนบิดาของตน ครั้นถึงแล้วนั่งบน
3
+ 01,0020,002,อาสนะที่เขาจัดถวาย จึงบิดาของท่านได้กล่าวคำนี้กะท่านว่า จงฉันเถิดพ่อสุทินน์.
4
+ 01,0020,003,อย่าเลยคุณโยม ภัตกิจในวันนี้ รูปทำเสร็จแล้ว พระสุทินน์กล่าวตอบ.
5
+ 01,0020,004,บิดาอาราธนาว่า พ่อสุทินน์ ขอพ่อจงรับนิมนต์ฉันภัตตาหารในวันพรุ่งนี้เถิด.
6
+ 01,0020,005,ท่านพระสุทินน์รับนิมนต์โดยดุษณีภาพ และแล้วลุกจากอาสนะหลีกไป.
7
+ 01,0020,006,บิดาวิงวอนให้สึก
8
+ 01,0020,007,[๑๖] ครั้งนั้นแล มารดาของท่านพระสุทินน์สั่งให้ไล้ทาพื้นแผ่นดินด้วยโคมัยสด ให้
9
+ 01,0020,008,จัดทำกองทรัพย์ไว้สองกอง คือเงินกอง ๑ ทองกอง ๑ เป็นกองใหญ่ กระทั่งบุรุษยืนอยู่ข้างนี้
10
+ 01,0020,009,ไม่แลเห็นบุรุษยืนอยู่ข้างโน้น บุรุษยืนอยู่ข้างโน้นก็ไม่แลเห็นบุรุษยืนอยู่ข้างนี้ ให้ปิดกองทรัพย์
11
+ 01,0020,010,เหล่านั้นด้วยลำแพน ให้จัดอาสนะไว้ในท่ามกลาง ให้แวดวงด้วยม่าน เสร็จโดยล่วงราตรีนั้น
12
+ 01,0020,011,แล้วเรียกปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์มาสั่งว่า ลูกหญิง เพราะลูกสุทินน์จะมา เจ้าจง
13
+ 01,0020,012,แต่งกายด้วยเครื่องประดับ อันจะเป็นเหตุให้ลูกสุทินน์เกิดความรักใคร่พอใจ.
14
+ 01,0020,013,อย่างนั้นเจ้าข้า นางรับคำมารดาของท่านพระสุทินน์.
15
+ 01,0020,014,ณ เวลาเช้าวันนั้นแล ท่านพระสุทินน์ครองอันตรวาสก ถือบาตรจีวรเข้าไปสู่เรือน
16
+ 01,0020,015,บิดาของตน แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาจัดถวาย.
17
+ 01,0020,016,ลำดับนั้นแล บิดาของท่านพระสุทินน์เข้าไปหาท่านพระสุทินน์ ครั้นแล้วให้คนเปิด
18
+ 01,0020,017,กองทรัพย์เหล่านั้นออก ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์ นี้ทรัพย์ของมารดาพ่อ
19
+ 01,0020,018,ซึ่งเป็นสินเดิมฝ่ายหญิงที่ได้มาทางฝ่ายมารดา ส่วนของบิดาต่างหาก ส่วนของปู่ต่างหาก พ่อ
20
+ 01,0020,019,สุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ มาเถิด พ่อสุทินน์
21
+ 01,0020,020,พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
22
+ 01,0020,021,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
23
+ 01,0020,022,แม้ครั้งที่สอง บิดาของท่านพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์
24
+ 01,0020,023,นี้ทรัพย์ของมารดาพ่อ ซึ่งเป็นสินเดิมฝ่ายหญิงที่ได้มาทางฝ่ายมารดา ส่วนของบิดาต่างหาก ส่วน
25
+ 01,0020,024,ของปู่ต่างหาก พ่อสุทินน์ พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ
26
+ 01,0020,025,มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
27
+ 01,0020,026,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
01/010021.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010021,001,แม้ครั้งที่สาม บิดาของพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์ นี้
3
- 01,010021,002,ทรัพย์ของมารดาพ่อ ซึ่งเป็นสินเดิมฝ่ายหญิงที่ได้มาทางฝ่ายมารดา ส่วนของบิดาต่างหาก ส่วน
4
- 01,010021,003,ของปู่ต่างหาก พ่อสุทินน์ พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติ และบำเพ็ญบุญ
5
- 01,010021,004,มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
6
- 01,010021,005,ท่านพระสุทินน์ตอบว่า คุณโยม รูปขอพูดกะคุณโยมบ้าง ถ้าคุณโยมไม่ตัดรอน.
7
- 01,010021,006,บ. พูดเถิด พ่อสุทินน์.
8
- 01,010021,007,สุ. คุณโยม ถ้าเช่นนั้น คุณโยมจงสั่งให้เขาทำกระสอบป่านใหญ่ๆ บรรจุเงินและทอง
9
- 01,010021,008,ให้เต็มบรรทุกเกวียนไป แล้วให้จมลงในกระแสน้ำท่ามกลางแม่น้ำคงคา ข้อนั้นเพราะเหตุไร
10
- 01,010021,009,เพราะความกลัวก็ดี ความหวาดเสียวก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี การเฝ้ารักษาก็ดี อันมี
11
- 01,010021,010,ทรัพย์นั้นเป็นเหตุ ที่จักเกิดแก่คุณโยมนั้น จักไม่มีแก่คุณโยมเลย.
12
- 01,010021,011,เมื่อท่านพระสุทินน์กล่าวอย่างนี้แล้ว บิดาของท่านได้มีความไม่พอใจว่า ไฉนลูกสุทินน์
13
- 01,010021,012,จึงได้พูดอย่างนี้ และแล้วได้เรียกปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์มาบอกว่า ลูกหญิง เพราะเจ้า
14
- 01,010021,013,เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ บางทีลูกสุทินน์จะพึงทำตามคำของเจ้าบ้าง.
15
- 01,010021,014,ทันใดนั้น นางได้จับเท้าท่านพระสุทินน์ถามว่า ข้าแต่ลูกนาย นางอัปสร ผู้เป็นเหตุให้
16
- 01,010021,015,ท่านประพฤติพรหมจรรย์นั้น ชื่อเช่นไร?
17
- 01,010021,016,น้องหญิง ฉันไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพราะเหตุแห่งนางอัปสรเลย พระสุทินน์
18
- 01,010021,017,ตอบ.
19
- 01,010021,018,บัดดล นางน้อยใจว่า สุทินน์ลูกนาย เรียกเราด้วยถ้อยคำว่า น้องหญิง ในวันนี้
20
- 01,010021,019,เป็นครั้งแรก แล้วสลบล้มลงในที่นั้นเอง.
21
- 01,010021,020,ท่านพระสุทินน์ได้กล่าวคำนี้กะบิดาว่า คุณโยม ถ้าโภชนะที่จะพึงให้มีอยู่ ก็จงให้เถิด
22
- 01,010021,021,อย่ารบกวนรูปเลย.
23
- 01,010021,022,ฉันเถิด พ่อสุทินน์ มารดาบิดาของท่านพระสุทินน์กล่าวดังนี้แล้ว ได้อังคาสท่าน
24
- 01,010021,023,พระสุทินน์ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยมือของตน จนให้ห้ามภัตร และแล้วมารดาของ
25
- 01,010021,024,ท่านพระสุทินน์ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ผู้ฉันเสร็จ ลดมือจากบาตรแล้วว่า พ่อสุทินน์
26
- 01,010021,025,สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก
27
- 01,010021,026,มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญ
28
- 01,010021,027,บุญ มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0021,001,แม้ครั้งที่สาม บิดาของพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์ นี้
3
+ 01,0021,002,ทรัพย์ของมารดาพ่อ ซึ่งเป็นสินเดิมฝ่ายหญิงที่ได้มาทางฝ่ายมารดา ส่วนของบิดาต่างหาก ส่วน
4
+ 01,0021,003,ของปู่ต่างหาก พ่อสุทินน์ พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติ และบำเพ็ญบุญ
5
+ 01,0021,004,มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
6
+ 01,0021,005,ท่านพระสุทินน์ตอบว่า คุณโยม รูปขอพูดกะคุณโยมบ้าง ถ้าคุณโยมไม่ตัดรอน.
7
+ 01,0021,006,บ. พูดเถิด พ่อสุทินน์.
8
+ 01,0021,007,สุ. คุณโยม ถ้าเช่นนั้น คุณโยมจงสั่งให้เขาทำกระสอบป่านใหญ่ๆ บรรจุเงินและทอง
9
+ 01,0021,008,ให้เต็มบรรทุกเกวียนไป แล้วให้จมลงในกระแสน้ำท่ามกลางแม่น้ำคงคา ข้อนั้นเพราะเหตุไร
10
+ 01,0021,009,เพราะความกลัวก็ดี ความหวาดเสียวก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี การเฝ้ารักษาก็ดี อันมี
11
+ 01,0021,010,ทรัพย์นั้นเป็นเหตุ ที่จักเกิดแก่คุณโยมนั้น จักไม่มีแก่คุณโยมเลย.
12
+ 01,0021,011,เมื่อท่านพระสุทินน์กล่าวอย่างนี้แล้ว บิดาของท่านได้มีความไม่พอใจว่า ไฉนลูกสุทินน์
13
+ 01,0021,012,จึงได้พูดอย่างนี้ และแล้วได้เรียกปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์มาบอกว่า ลูกหญิง เพราะเจ้า
14
+ 01,0021,013,เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ บางทีลูกสุทินน์จะพึงทำตามคำของเจ้าบ้าง.
15
+ 01,0021,014,ทันใดนั้น นางได้จับเท้าท่านพระสุทินน์ถามว่า ข้าแต่ลูกนาย นางอัปสร ผู้เป็นเหตุให้
16
+ 01,0021,015,ท่านประพฤติพรหมจรรย์นั้น ชื่อเช่นไร?
17
+ 01,0021,016,น้องหญิง ฉันไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพราะเหตุแห่งนางอัปสรเลย พระสุทินน์
18
+ 01,0021,017,ตอบ.
19
+ 01,0021,018,บัดดล นางน้อยใจว่า สุทินน์ลูกนาย เรียกเราด้วยถ้อยคำว่า น้องหญิง ในวันนี้
20
+ 01,0021,019,เป็นครั้งแรก แล้วสลบล้มลงในที่นั้นเอง.
21
+ 01,0021,020,ท่านพระสุทินน์ได้กล่าวคำนี้กะบิดาว่า คุณโยม ถ้าโภชนะที่จะพึงให้มีอยู่ ก็จงให้เถิด
22
+ 01,0021,021,อย่ารบกวนรูปเลย.
23
+ 01,0021,022,ฉันเถิด พ่อสุทินน์ มารดาบิดาของท่านพระสุทินน์กล่าวดังนี้แล้ว ได้อังคาสท่าน
24
+ 01,0021,023,พระสุทินน์ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยมือของตน จนให้ห้ามภัตร และแล้วมารดาของ
25
+ 01,0021,024,ท่านพระสุทินน์ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ผู้ฉันเสร็จ ลดมือจากบาตรแล้วว่า พ่อสุทินน์
26
+ 01,0021,025,สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก
27
+ 01,0021,026,มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญ
28
+ 01,0021,027,บุญ มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
01/010022.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010022,001,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
3
- 01,010022,002,แม้ครั้งที่สอง มารดาของท่านพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์
4
- 01,010022,003,สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก
5
- 01,010022,004,มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญ
6
- 01,010022,005,บุญ มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
7
- 01,010022,006,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
8
- 01,010022,007,แม้ครั้งที่สาม มารดาของท่านพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์
9
- 01,010022,008,สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและมีเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก
10
- 01,010022,009,มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อสุทินน์ ดังนั้น พ่อจงให้พืชพันธุ์ไว้บ้าง พวกเจ้าลิจฉวีจะได้
11
- 01,010022,010,ไม่ริบทรัพย์สมบัติของเรา อันหาบุตรผู้สืบสกุลมิได้ไปเสีย.
12
- 01,010022,011,สุ. คุณโยม เฉพาะเรื่องนี้รูปอาจทำได้.
13
- 01,010022,012,ม. พ่อสุทินน์ ก็เวลานี้พ่อพำนักอยู่ที่ไหน?
14
- 01,010022,013,ที่ป่ามหาวันจ้ะ ท่านพระสุทินน์ตอบ และแล้วได้ลุกจากอาสนะหลีกไป.
15
- 01,010022,014,เสพเมถุนธรรม
16
- 01,010022,015,[๑๗] หลังจากนั้น มารดาของท่านพระสุทินน์สั่งกำชับปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์
17
- 01,010022,016,ว่า ลูกหญิง ถ้ากระนั้นเมื่อใดเจ้ามีระดู ต่อมโลหิตเกิดมีแก่เจ้า เมื่อนั้นเจ้าพึงบอกแก่แม่.
18
- 01,010022,017,นางรับคำมารดาของท่านพระสุทินน์แล้ว ต่อมาไม่ช้านัก นางได้มีระดู ต่อมโลหิตได้
19
- 01,010022,018,เกิดขึ้นแก่นาง นางจึงได้แจ้งแก่มารดาของท่านพระสุทินน์ว่า ดิฉันมีระดู เจ้าค่ะ ต่อมโลหิตเกิดขึ้น
20
- 01,010022,019,แก่ดิฉันแล้ว.
21
- 01,010022,020,มารดาของท่านพระสุทินน์กล่าวว่า ลูกหญิง ถ้ากระนั้น เจ้าจงแต่งตัวด้วยเครื่องประดับ
22
- 01,010022,021,อันจะเป็นเหตุให้ลูกสุทินน์เกิดความรักใคร่พอใจ.
23
- 01,010022,022,จ้ะ คุณแม่ นางรับคำมารดาของท่านพระสุทินน์แล้ว จึงมารดาพานางเข้าไปหาท่าน
24
- 01,010022,023,พระสุทินน์ที่ป่ามหาวัน แล้วรำพันว่าพ่อสุทินน์ สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทอง
25
- 01,010022,024,และเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่��่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมา
26
- 01,010022,025,เป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็น
27
- 01,010022,026,คฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0022,001,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
3
+ 01,0022,002,แม้ครั้งที่สอง มารดาของท่านพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์
4
+ 01,0022,003,สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก
5
+ 01,0022,004,มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญ
6
+ 01,0022,005,บุญ มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
7
+ 01,0022,006,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
8
+ 01,0022,007,แม้ครั้งที่สาม มารดาของท่านพระสุทินน์ก็ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า พ่อสุทินน์
9
+ 01,0022,008,สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและมีเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก
10
+ 01,0022,009,มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อสุทินน์ ดังนั้น พ่อจงให้พืชพันธุ์ไว้บ้าง พวกเจ้าลิจฉวีจะได้
11
+ 01,0022,010,ไม่ริบทรัพย์สมบัติของเรา อันหาบุตรผู้สืบสกุลมิได้ไปเสีย.
12
+ 01,0022,011,สุ. คุณโยม เฉพาะเรื่องนี้รูปอาจทำได้.
13
+ 01,0022,012,ม. พ่อสุทินน์ ก็เวลานี้พ่อพำนักอยู่ที่ไหน?
14
+ 01,0022,013,ที่ป่ามหาวันจ้ะ ท่านพระสุทินน์ตอบ และแล้วได้ลุกจากอาสนะหลีกไป.
15
+ 01,0022,014,เสพเมถุนธรรม
16
+ 01,0022,015,[๑๗] หลังจากนั้น มารดาของท่านพระสุทินน์สั่งกำชับปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์
17
+ 01,0022,016,ว่า ลูกหญิง ถ้ากระนั้นเมื่อใดเจ้ามีระดู ต่อมโลหิตเกิดมีแก่เจ้า เมื่อนั้นเจ้าพึงบอกแก่แม่.
18
+ 01,0022,017,นางรับคำมารดาของท่านพระสุทินน์แล้ว ต่อมาไม่ช้านัก นางได้มีระดู ต่อมโลหิตได้
19
+ 01,0022,018,เกิดขึ้นแก่นาง นางจึงได้แจ้งแก่มารดาของท่านพระสุทินน์ว่า ดิฉันมีระดู เจ้าค่ะ ต่อมโลหิตเกิดขึ้น
20
+ 01,0022,019,แก่ดิฉันแล้ว.
21
+ 01,0022,020,มารดาของท่านพระสุทินน์กล่าวว่า ลูกหญิง ถ้ากระนั้น เจ้าจงแต่งตัวด้วยเครื่องประดับ
22
+ 01,0022,021,อันจะเป็นเหตุให้ลูกสุทินน์เกิดความรักใคร่พอใจ.
23
+ 01,0022,022,จ้ะ คุณแม่ นางรับคำมารดาของท่านพระสุทินน์แล้ว จึงมารดาพานางเข้าไปหาท่าน
24
+ 01,0022,023,พระสุทินน์ที่ป่ามหาวัน แล้วรำพันว่าพ่อสุทินน์ สกุลนี้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทอง
25
+ 01,0022,024,และเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็นทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมา
26
+ 01,0022,025,เป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ มาเถิด พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็น
27
+ 01,0022,026,คฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
01/010023.csv CHANGED
@@ -1,29 +1,29 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010023,001,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
3
- 01,010023,002,แม้ครั้งที่สอง มารดาของท่านพระสุทินน์ ก็ได้รำพันว่า พ่อสุทินน์ สกุลนี้มั่งคั่ง มี
4
- 01,010023,003,ทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็น
5
- 01,010023,004,ทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ มาเถิด
6
- 01,010023,005,พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
7
- 01,010023,006,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
8
- 01,010023,007,แม้ครั้งที่สาม มารดาของท่านพระสุทินน์ ก็ได้รำพันว่า พ่อสุทินน์ สกุลนี้มั่งคั่ง มี
9
- 01,010023,008,ทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็น
10
- 01,010023,009,ทรัพยากรมาก พ่อสุทินน์ ดั่งนั้นพ่อจงให้พืชพันธุ์ไว้บ้าง พวกเจ้าลิจฉวีจะได้ไม่ริบทรัพย์สมบัติ
11
- 01,010023,010,ของเรา อันหาบุตรผู้สืบสกุลมิได้ไปเสียเลย.
12
- 01,010023,011,คุณโยม เฉพาะเรื่องนี้รูปอาจทำได้ ท่านพระสุทินน์ตอบแล้วจูงแขนปุราณทุติยิกาพาเข้าป่า
13
- 01,010023,012,มหาวัน เป็นผู้มีความเห็นว่าไม่มีโทษ เพราะสิกขาบทยังมิได้ทรงบัญญัติ จึงเสพเมถุนธรรมกับ
14
- 01,010023,013,ปุราณทุติยิกา ๓ ครั้ง นางได้ตั้งครรภ์เพราะอัฌาจารนั้น.
15
- 01,010023,014,เทพเจ้ากระจายเสียง
16
- 01,010023,015,[๑๘] เหล่าภุมเทพกระจายเสียงว่า ท่านผู้เจริญ โอ ภิกษุสงฆ์ ไม่มีเสนียดไม่มีโทษ
17
- 01,010023,016,พระสุทินน์กลันทบุตรก่อเสนียดขึ้นแล้ว ก่อโทษขึ้นแล้ว เทพชั้นจาตุมหาราช ได้สดับเสียง
18
- 01,010023,017,เหล่าภุมเทพแล้วกระจายเสียงต่อไป เทพชั้นดาวดึงส์ เทพชั้นยามา เทพชั้นดุสิต เทพชั้น
19
- 01,010023,018,นิมมานรดี เทพชั้นปรนิมมิตวสวดี เทพที่นับเนื่องในหมู่พรหมได้สดับเสียงแล้วกระจายเสียงกัน
20
- 01,010023,019,ต่อๆ ไปว่า ท่านผู้เจริญ โอ ภิกษุสงฆ์ ไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ พระสุทินน์กลันทบุตรก่อ
21
- 01,010023,020,เสนียดขึ้นแล้ว ก่อโทษขึ้นแล้ว โดยทันใดนั้น ครู่หนึ่งนั้น เสียงได้กระจายขึ้นไปถึงพรหมโลก
22
- 01,010023,021,ด้วยอาการอย่างนี้แล.
23
- 01,010023,022,สมัยต่อมา ปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์ อาศัยความแก่แห่งครรภ์นั้น คลอดบุตร
24
- 01,010023,023,แล้ว จึงพวกสหายของท่านพระสุทินน์ได้ตั้งชื่อทารกนั้นว่า พีชกะ ตั้งชื่อปูราณทุติยิกาของท่าน
25
- 01,010023,024,พระสุทินน์ว่า พีชกมาตา ตั้งชื่อท่านพระสุทินน์ว่า พีชกปิตา ภายหลังเขาทั้งสองได้ออกจาก
26
- 01,010023,025,เรือนบวชเป็นบรรพชิต ทำให้แจ้งซึ่งพระอรหัตแล้ว.
27
- 01,010023,026,พระสุทินน์เกิดวิปฏิสาร
28
- 01,010023,027,[๑๙] ครั้งนั้น ความรำคาญ ความเดือดร้อน ได้เกิดแก่ท่านพระสุทินน์ว่า มิใช่ลาภ
29
- 01,010023,028,ของเราหนอ ลาภของเราไม่มีหนอ เราได้ชั่วแล้วหนอ เราไม่ได้ดีแล้วหนอ เพราะเราบวชใน
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0023,001,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
3
+ 01,0023,002,แม้ครั้งที่สอง มารดาของท่านพระสุทินน์ ก็ได้รำพันว่า พ่อสุทินน์ สกุลนี้มั่งคั่ง มี
4
+ 01,0023,003,ทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็น
5
+ 01,0023,004,ทรัพยากรมาก พ่อควรกลับมาเป็นคฤหัสถ์ จะได้ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญ มาเถิด
6
+ 01,0023,005,พ่อสุทินน์ พ่อจงกลับมาเป็นคฤหัสถ์ ใช้สอยโภคสมบัติและบำเพ็ญบุญเถิด.
7
+ 01,0023,006,คุณโยม รูปไม่อาจ ไม่สามารถ รูปยังยินดีประพฤติพรหมจรรย์อยู่ พระสุทินน์ตอบ.
8
+ 01,0023,007,แม้ครั้งที่สาม มารดาของท่านพระสุทินน์ ก็ได้รำพันว่า พ่อสุทินน์ สกุลนี้มั่งคั่ง มี
9
+ 01,0023,008,ทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงินมาก มีเครื่องอุปกรณ์ที่น่าปลื้มใจมาก มีข้าวเปลือกเป็น
10
+ 01,0023,009,ทรัพยากรมาก พ่อสุทินน์ ดั่งนั้นพ่อจงให้พืชพันธุ์ไว้บ้าง พวกเจ้าลิจฉวีจะได้ไม่ริบทรัพย์สมบัติ
11
+ 01,0023,010,ของเรา อันหาบุตรผู้สืบสกุลมิได้ไปเสียเลย.
12
+ 01,0023,011,คุณโยม เฉพาะเรื่องนี้รูปอาจทำได้ ท่านพระสุทินน์ตอบแล้วจูงแขนปุราณทุติยิกาพาเข้าป่า
13
+ 01,0023,012,มหาวัน เป็นผู้มีความเห็นว่าไม่มีโทษ เพราะสิกขาบทยังมิได้ทรงบัญญัติ จึงเสพเมถุนธรรมกับ
14
+ 01,0023,013,ปุราณทุติยิกา ๓ ครั้ง นางได้ตั้งครรภ์เพราะอัฌาจารนั้น.
15
+ 01,0023,014,เทพเจ้ากระจายเสียง
16
+ 01,0023,015,[๑๘] เหล่าภุมเทพกระจายเสียงว่า ท่านผู้เจริญ โอ ภิกษุสงฆ์ ไม่มีเสนียดไม่มีโทษ
17
+ 01,0023,016,พระสุทินน์กลันทบุตรก่อเสนียดขึ้นแล้ว ก่อโทษขึ้นแล้ว เทพชั้นจาตุมหาราช ได้สดับเสียง
18
+ 01,0023,017,เหล่าภุมเทพแล้วกระจายเสียงต่อไป เทพชั้นดาวดึงส์ เทพชั้นยามา เทพชั้นดุสิต เทพชั้น
19
+ 01,0023,018,นิมมานรดี เทพชั้นปรนิมมิตวสวดี เทพที่นับเนื่องในหมู่พรหมได��สดับเสียงแล้วกระจายเสียงกัน
20
+ 01,0023,019,ต่อๆ ไปว่า ท่านผู้เจริญ โอ ภิกษุสงฆ์ ไม่มีเสนียด ไม่มีโทษ พระสุทินน์กลันทบุตรก่อ
21
+ 01,0023,020,เสนียดขึ้นแล้ว ก่อโทษขึ้นแล้ว โดยทันใดนั้น ครู่หนึ่งนั้น เสียงได้กระจายขึ้นไปถึงพรหมโลก
22
+ 01,0023,021,ด้วยอาการอย่างนี้แล.
23
+ 01,0023,022,สมัยต่อมา ปุราณทุติยิกาของท่านพระสุทินน์ อาศัยความแก่แห่งครรภ์นั้น คลอดบุตร
24
+ 01,0023,023,แล้ว จึงพวกสหายของท่านพระสุทินน์ได้ตั้งชื่อทารกนั้นว่า พีชกะ ตั้งชื่อปูราณทุติยิกาของท่าน
25
+ 01,0023,024,พระสุทินน์ว่า พีชกมาตา ตั้งชื่อท่านพระสุทินน์ว่า พีชกปิตา ภายหลังเขาทั้งสองได้ออกจาก
26
+ 01,0023,025,เรือนบวชเป็นบรรพชิต ทำให้แจ้งซึ่งพระอรหัตแล้ว.
27
+ 01,0023,026,พระสุทินน์เกิดวิปฏิสาร
28
+ 01,0023,027,[๑๙] ครั้งนั้น ความรำคาญ ความเดือดร้อน ได้เกิดแก่ท่านพระสุทินน์ว่า มิใช่ลาภ
29
+ 01,0023,028,ของเราหนอ ลาภของเราไม่มีหนอ เราได้ชั่วแล้วหนอ เราไม่ได้ดีแล้วหนอ เพราะเราบวชใน
01/010024.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010024,001,พระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้แล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ ให้
3
- 01,010024,002,บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิต เพราะความรำคาญนั้นแหละ เพราะความเดือดร้อนนั้นแหละ ท่านได้
4
- 01,010024,003,ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น มีเรื่องในใจ
5
- 01,010024,004,มีใจหดหู่ มีทุกข์โทมนัส มีวิปฏิสาร ซบเซาแล้ว.
6
- 01,010024,005,จึงบรรดาภิกษุที่เป็นสหายของท่านพระสุทินน์ ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า อาวุโส
7
- 01,010024,006,สุทินน์ เมื่อก่อนคุณเป็นผู้มีผิวพรรณ มีอินทรีย์สมบูรณ์ มีสีหน้าสดใส มีฉวีวรรณผุดผ่อง
8
- 01,010024,007,มีน้ำมีนวล บัดนี้ ดูคุณซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่ง
9
- 01,010024,008,ด้วยเอ็น มีเรื่องในใจ มีใจหดหู่ มีทุกข์โทมนัส มีวิปฏิสาร ซบเซาอยู่ คุณจะไม่ยินดีประพฤติ
10
- 01,010024,009,พรหมจรรย์กระมังหนอ?
11
- 01,010024,010,อาวุโสทั้งหลาย ความจริง มิใช่ว่าผมจะไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ พระสุทินน์ค้าน
12
- 01,010024,011,แล้วแถลงความจริงว่า เพราะบาปกรรมที่ผมทำไว้มีอยู่ ผมได้เสพเมถุนธรรมในปุราณทุติยิกา
13
- 01,010024,012,ผมจึงได้มีความรำคาญ ความเดือดร้อนว่า มิใช่ลาภของเราหนอ ลาภของเราไม่มีหนอ เราได้ชั่ว
14
- 01,010024,013,แล้วหนอ เราไม่ได้ดีแล้วหนอ เพราะเราบวชในพระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้
15
- 01,010024,014,แล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิต ดังนี้.
16
- 01,010024,015,อาวุโส สุทินน์ จริง การที่คุณบวชในพระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้
17
- 01,010024,016,แล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตนั้น พอที่คุณจะรำคาญ
18
- 01,010024,017,พอที่คุณจะเดือดร้อน.
19
- 01,010024,018,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด
20
- 01,010024,019,ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่
21
- 01,010024,020,เพื่อมีความถือมั่น มิใช่หรือ? เมื่อธรรมชื่อนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว เพื่อคลาย
22
- 01,010024,021,ความกำหนัด คุณยังจะคิดเพื่อมีความกำหนัด เมื่อทรงแสดงเพื่อความพราก คุณยังจักคิดเพื่อ
23
- 01,010024,022,ความประกอบ เมื่อทรงแสดงเพื่อความไม่ถือมั่น ���ุณยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
24
- 01,010024,023,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่ง
25
- 01,010024,024,ราคะ เพื่อเป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่ง
26
- 01,010024,025,อาลัย เพื่อเป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อคลายความกำหนัด เพื่อ
27
- 01,010024,026,ความดับทุกข์ เพื่อนิพพานมิใช่หรือ?
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0024,001,พระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้แล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ ให้
3
+ 01,0024,002,บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิต เพราะความรำคาญนั้นแหละ เพราะความเดือดร้อนนั้นแหละ ท่านได้
4
+ 01,0024,003,ซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่งด้วยเอ็น มีเรื่องในใจ
5
+ 01,0024,004,มีใจหดหู่ มีทุกข์โทมนัส มีวิปฏิสาร ซบเซาแล้ว.
6
+ 01,0024,005,จึงบรรดาภิกษุที่เป็นสหายของท่านพระสุทินน์ ได้กล่าวคำนี้กะท่านพระสุทินน์ว่า อาวุโส
7
+ 01,0024,006,สุทินน์ เมื่อก่อนคุณเป็นผู้มีผิวพรรณ มีอินทรีย์สมบูรณ์ มีสีหน้าสดใส มีฉวีวรรณผุดผ่อง
8
+ 01,0024,007,มีน้ำมีนวล บัดนี้ ดูคุณซูบผอม เศร้าหมอง มีผิวพรรณคล้ำ มีผิวเหลืองขึ้นๆ มีเนื้อตัวสะพรั่ง
9
+ 01,0024,008,ด้วยเอ็น มีเรื่องในใจ มีใจหดหู่ มีทุกข์โทมนัส มีวิปฏิสาร ซบเซาอยู่ คุณจะไม่ยินดีประพฤติ
10
+ 01,0024,009,พรหมจรรย์กระมังหนอ?
11
+ 01,0024,010,อาวุโสทั้งหลาย ความจริง มิใช่ว่าผมจะไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ พระสุทินน์ค้าน
12
+ 01,0024,011,แล้วแถลงความจริงว่า เพราะบาปกรรมที่ผมทำไว้มีอยู่ ผมได้เสพเมถุนธรรมในปุราณทุติยิกา
13
+ 01,0024,012,ผมจึงได้มีความรำคาญ ความเดือดร้อนว่า มิใช่ลาภของเราหนอ ลาภของเราไม่มีหนอ เราได้ชั่ว
14
+ 01,0024,013,แล้วหนอ เราไม่ได้ดีแล้วหนอ เพราะเราบวชในพระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้
15
+ 01,0024,014,แล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิต ดังนี้.
16
+ 01,0024,015,อาวุโส สุทินน์ จริง การที่คุณบวชในพระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้
17
+ 01,0024,016,แล้ว ยังไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตนั้น พอที่คุณจะรำคาญ
18
+ 01,0024,017,พอที่คุณจะเดือดร้อน.
19
+ 01,0024,018,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด
20
+ 01,0024,019,ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่
21
+ 01,0024,020,เพื่อมีความถือมั่น มิใช่หรือ? เมื่อธรรมชื่อนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว เพื่อคลาย
22
+ 01,0024,021,ความกำหนัด คุณยังจะคิดเพื่อมีความกำหนัด เมื่อทรงแสดงเพื่อความพราก คุณยังจักคิดเพื่อ
23
+ 01,0024,022,ความประกอบ เมื่อทรงแสดงเพื่อความไม่ถือมั่น คุณยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
24
+ 01,0024,023,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่ง
25
+ 01,0024,024,ราคะ เพื่อเป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่ง
26
+ 01,0024,025,อาลัย เพื่อเป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อคลายความกำหนัด เพื่อ
27
+ 01,0024,026,ความดับทุกข์ เพื่อนิพพานมิใช่หรือ?
01/010025.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010025,001,อาวุโส การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม การ
3
- 01,010025,002,เพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม พระผู้มีพระภาคตรัสบอก
4
- 01,010025,003,ไว้แล้วโดยอเนกปริยาย มิใช่หรือ?
5
- 01,010025,004,อาวุโส การกระทำของคุณนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
6
- 01,010025,005,หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของคุณนั่น เป็นไปเพื่อ
7
- 01,010025,006,ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส
8
- 01,010025,007,แล้ว.
9
- 01,010025,008,ภิกษุสหายเหล่านั้น ติเตียนท่านพระสุทินน์โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ได้กราบทูลเนื้อ
10
- 01,010025,009,ความนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
11
- 01,010025,010,ทรงประชุมสงฆ์บัญญัติสิกขาบท
12
- 01,010025,011,[๒๐] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นมูลเค้านั้น
13
- 01,010025,012,ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระสุทินน์ว่า ดูกรสุทินน์ ข่าวว่าเธอ
14
- 01,010025,013,เสพเมถุนธรรม ในปุราณทุติยิกา จริงหรือ?
15
- 01,010025,014,ท่านพระสุทินน์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
16
- 01,010025,015,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ
17
- 01,010025,016,ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ เธอบวชในธรรมวินัยที่เรากล่าวไว้ดีอย่างนี้
18
- 01,010025,017,แล้ว ไฉนจึงไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตเล่า.
19
- 01,010025,018,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด ไม่ใช่
20
- 01,010025,019,เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่เพื่อมี
21
- 01,010025,020,ความถือมั่นมิใช่หรือ? เมื่อธรรมชื่อนั้นอันเราแสดงแล้ว เพื่อคลายความกำหนัด เธอยังจักคิด
22
- 01,010025,021,เพื่อมีความกำหนัด เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจักคิดเพื่อความประกอบ เราแสดงเพื่อความ
23
- 01,010025,022,ไม่ถือมั่น เธอยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
24
- 01,010025,023,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งราคะ เพื่อ
25
- 01,010025,024,เป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่งอาลัย เพื่อ
26
- 01,010025,025,เป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่ดับ
27
- 01,010025,026,แห่งตัณหา เพื่อออกไปจากตัณหาชื่อวานะ มิใช่หรือ?
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0025,001,อาวุโส การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม การ
3
+ 01,0025,002,เพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม พระผู้มีพระภาคตรัสบอก
4
+ 01,0025,003,ไว้แล้วโดยอเนกปริยาย มิใช่หรือ?
5
+ 01,0025,004,อาวุโส การกระทำของคุณนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
6
+ 01,0025,005,หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของคุณนั่น เป็นไปเพื่อ
7
+ 01,0025,006,ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส
8
+ 01,0025,007,แล้ว.
9
+ 01,0025,008,ภิกษุสหายเหล่านั้น ติเตียนท่านพระสุทินน์โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ได้กราบทูลเนื้อ
10
+ 01,0025,009,ความนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
11
+ 01,0025,010,ทรงประชุมสงฆ์บัญญัติสิกขาบท
12
+ 01,0025,011,[๒๐] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นมูลเค้านั้น
13
+ 01,0025,012,ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระสุทินน์ว่า ดูกรสุทินน์ ข่าวว่าเธอ
14
+ 01,0025,013,เสพเมถุนธรรม ในปุราณทุติยิกา จริงหรือ?
15
+ 01,0025,014,ท่านพระสุทินน์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
16
+ 01,0025,015,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ
17
+ 01,0025,016,ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ เธอบวชในธรรมวินัยที่เรากล่าวไว้ดีอย่างนี้
18
+ 01,0025,017,แล้ว ไฉนจึงไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตเล่า.
19
+ 01,0025,018,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด ไม่ใช่
20
+ 01,0025,019,เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่เพื่อมี
21
+ 01,0025,020,ความถือมั่นมิใช่หรือ? เมื่อธรรมชื่อนั้นอันเราแสดงแล้ว เพื่อคลายความกำหนัด เธอยังจักคิด
22
+ 01,0025,021,เพื่อมีความกำหนัด เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจักคิดเพื่อความประกอบ เราแสดงเพื่อความ
23
+ 01,0025,022,ไม่ถือมั่น เธอยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
24
+ 01,0025,023,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งราคะ เพื่อ
25
+ 01,0025,024,เป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่งอาลัย เพื่อ
26
+ 01,0025,025,เป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่ดับ
27
+ 01,0025,026,แห่งตัณหา เพื่อออกไปจากตัณหาชื่อวานะ มิใช่หรือ?
01/010026.csv CHANGED
@@ -1,29 +1,29 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010026,001,ดูกรโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม
3
- 01,010026,002,การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เราบอกไว้แล้วโดย
4
- 01,010026,003,อเนกปริยาย มิใช่หรือ?
5
- 01,010026,004,ดูกรโมฆบุรุษ องค์กำเนิด อันเธอสอดเข้าในปากอสรพิษที่มีพิษร้าย ยังดีกว่า อันองค์
6
- 01,010026,005,กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของมาตุคามไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าในปากงูเห่า
7
- 01,010026,006,ยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของมาตุคาม ไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอ
8
- 01,010026,007,สอดเข้าในหลุมถ่านที่ไฟติดลุกโชนยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของมาตุคาม
9
- 01,010026,008,ไม่ดีเลย.
10
- 01,010026,009,ข้อที่เราว่าดีนั้น เพราะเหตุไร?
11
- 01,010026,010,เพราะบุคคลผู้สอดองค์กำเนิดเข้าในปากอสรพิษเป็นต้นนั้น พึงถึงความตาย หรือ
12
- 01,010026,011,ความทุกข์เพียงแค่ตาย ซึ่งมีการกระทำนั้นเป็นเหตุ และเพราะการกระทำนั้นเป็นปัจจัย เบื้องหน้า
13
- 01,010026,012,แต่แตกกายตายไป ไม่พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนบุคคลผู้ทำการสอดองค์กำเนิด
14
- 01,010026,013,เข้าในองค์กำเนิดของมาตุคามนั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต
15
- 01,010026,014,นรก ซึ่งมีการกระทำนี้เป็นเหตุ.
16
- 01,010026,015,ดูกรโมฆบุรุษ เมื่อการกระทำนั้น มีโทษอยู่ เธอยังชื่อว่าได้ต้องอสัทธรรม อันเป็น
17
- 01,010026,016,เรื่องของชาวบ้าน เป็นมรรยาทของคนชั้นต่ำ อันชั่วหยาบ มีน้ำเป็นที่สุด มีในที่ลับ เป็นของ
18
- 01,010026,017,คนคู่ อันคนคู่พึงร่วมกันเป็นไป เธอเป็นคนแรกที่กระทำอกุศลธรรม เป็นหัวหน้าของคนเป็น
19
- 01,010026,018,อันมาก การกระทำของเธอนั่นไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อ
20
- 01,010026,019,ความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่
21
- 01,010026,020,เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
22
- 01,010026,021,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนท่านพระสุทินน์โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ
23
- 01,010026,022,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ
24
- 01,010026,023,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเ���ี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความ
25
- 01,010026,024,มักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การ
26
- 01,010026,025,ปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่
27
- 01,010026,026,เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
28
- 01,010026,027,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
29
- 01,010026,028,อำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0026,001,ดูกรโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม
3
+ 01,0026,002,การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เราบอกไว้แล้วโดย
4
+ 01,0026,003,อเนกปริยาย มิใช่หรือ?
5
+ 01,0026,004,ดูกรโมฆบุรุษ องค์กำเนิด อันเธอสอดเข้าในปากอสรพิษที่มีพิษร้าย ยังดีกว่า อันองค์
6
+ 01,0026,005,กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของมาตุคามไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าในปากงูเห่า
7
+ 01,0026,006,ยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของมาตุคาม ไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอ
8
+ 01,0026,007,สอดเข้าในหลุมถ่านที่ไฟติดลุกโชนยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของมาตุคาม
9
+ 01,0026,008,ไม่ดีเลย.
10
+ 01,0026,009,ข้อที่เราว่าดีนั้น เพราะเหตุไร?
11
+ 01,0026,010,เพราะบุคคลผู้สอดองค์กำเนิดเข้าในปากอสรพิษเป็นต้นนั้น พึงถึงความตาย หรือ
12
+ 01,0026,011,ความทุกข์เพียงแค่ตาย ซึ่งมีการกระทำนั้นเป็นเหตุ และเพราะการกระทำนั้นเป็นปัจจัย เบื้องหน้า
13
+ 01,0026,012,แต่แตกกายตายไป ไม่พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนบุคคลผู้ทำการสอดองค์กำเนิด
14
+ 01,0026,013,เข้าในองค์กำเนิดของมาตุคามนั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต
15
+ 01,0026,014,นรก ซึ่งมีการกระทำนี้เป็นเหตุ.
16
+ 01,0026,015,ดูกรโมฆบุรุษ เมื่อการกระทำนั้น มีโทษอยู่ เธอยังชื่อว่าได้ต้องอสัทธรรม อันเป็น
17
+ 01,0026,016,เรื่องของชาวบ้าน เป็นมรรยาทของคนชั้นต่ำ อันชั่วหยาบ มีน้ำเป็นที่สุด มีในที่ลับ เป็นของ
18
+ 01,0026,017,คนคู่ อันคนคู่พึงร่วมกันเป็นไป เธอเป็นคนแรกที่กระทำอกุศลธรรม เป็นหัวหน้าของคนเป็น
19
+ 01,0026,018,อันมาก การกระทำของเธอนั่นไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อ
20
+ 01,0026,019,ความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่
21
+ 01,0026,020,เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
22
+ 01,0026,021,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนท่านพระสุทินน์โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ
23
+ 01,0026,022,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ
24
+ 01,0026,023,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความ
25
+ 01,0026,024,มักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การ
26
+ 01,0026,025,ปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่
27
+ 01,0026,026,เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
28
+ 01,0026,027,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
29
+ 01,0026,028,อำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑
01/010027.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010027,001,เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิด
3
- 01,010027,002,ในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
4
- 01,010027,003,เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑
5
- 01,010027,004,เพื่อถือตามพระวินัย ๑
6
- 01,010027,005,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:
7
- 01,010027,006,พระปฐมบัญญัติ
8
- 01,010027,007,๑. ก็ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้
9
- 01,010027,008,ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลายด้วยประการฉะนี้.
10
- 01,010027,009,สุทินนภาณวาร จบ
11
- 01,010027,010,เรื่องลิงตัวเมีย
12
- 01,010027,011,[๒๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเอาเหยื่อล่อลิงตัวเมียในป่ามหาวัน เขตพระนคร
13
- 01,010027,012,เวสาลี แล้วเสพเมถุนธรรมในลิงตัวเมียนั้นเสมอ ครั้นเวลาเช้า ภิกษุนั้นครองอันตรวาสกแล้ว
14
- 01,010027,013,ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตในพระนครเวสาลี
15
- 01,010027,014,ครั้งนั้นแล ภิกษุหลายรูปเที่ยวจาริกตามเสนาสนะ เดินผ่านเข้าไปทางที่อยู่ของภิกษุนั้น
16
- 01,010027,015,ลิงตัวเมียนั้นแลเห็นภิกษุเหล่านั้นกำลังเดินมาแต่ไกลเทียว ครั้นแล้วได้เข้าไปหาภิกษุเหล่านั้น
17
- 01,010027,016,ยกสะเอวบ้าง โก่งหางบ้าง แอ่นตะโพกบ้าง ทำนิมิตบ้าง เบื้องหน้าภิกษุเหล่านั้น จึงภิกษุ
18
- 01,010027,017,เหล่านั้นสันนิษฐานว่า ภิกษุเจ้าของถิ่นเสพเมถุนธรรมในลิงตัวเมียนี้แน่ ไม่ต้องสงสัย แล้วแฝง
19
- 01,010027,018,อยู่ ณ ที่กำบังแห่งหนึ่ง.
20
- 01,010027,019,เมื่อภิกษุเจ้าของถิ่นเที่ยวบิณฑบาตในพระนครเวสาลี ถือบิณฑบาตกลับมาแล้ว ลิงตัวเมีย
21
- 01,010027,020,นั้นได้เข้าไปหา ครั้นภิกษุเจ้าของถิ่นฉันบิณฑบาตนั้นส่วนหนึ่งแล้ว ได้ให้แก่มันส่วนหนึ่ง
22
- 01,010027,021,เมื่อมันกินอาหารส่วนนั้นแล้วได้แอ่นตะโพกให้ จึงภิกษุนั้นเสพเมถุนธรรมในมัน.
23
- 01,010027,022,ทันใด ภิกษุเหล่านั้นได้กล่าวกะภิกษุนั้นว่า อาวุโส พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติสิกขาบท
24
- 01,010027,023,ไว้แล้วมิใช่หรือ เหตุไร คุณจึงได้เสพเมถุนธรรมในลิงตัวเมียนี้เล่า?
25
- 01,010027,024,จริงขอรับ พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แล้ว ภิกษุนั้นสารภาพแล้วค้านว่า
26
- 01,010027,025,แต่พระบัญญัตินั้���เฉพาะหญิงมนุษย์ ไม่เกี่ยวถึงสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0027,001,เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิด
3
+ 01,0027,002,ในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
4
+ 01,0027,003,เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑
5
+ 01,0027,004,เพื่อถือตามพระวินัย ๑
6
+ 01,0027,005,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:
7
+ 01,0027,006,พระปฐมบัญญัติ
8
+ 01,0027,007,๑. ก็ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม เป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้
9
+ 01,0027,008,ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลายด้วยประการฉะนี้.
10
+ 01,0027,009,สุทินนภาณวาร จบ
11
+ 01,0027,010,เรื่องลิงตัวเมีย
12
+ 01,0027,011,[๒๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งเอาเหยื่อล่อลิงตัวเมียในป่ามหาวัน เขตพระนคร
13
+ 01,0027,012,เวสาลี แล้วเสพเมถุนธรรมในลิงตัวเมียนั้นเสมอ ครั้นเวลาเช้า ภิกษุนั้นครองอันตรวาสกแล้ว
14
+ 01,0027,013,ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตในพระนครเวสาลี
15
+ 01,0027,014,ครั้งนั้นแล ภิกษุหลายรูปเที่ยวจาริกตามเสนาสนะ เดินผ่านเข้าไปทางที่อยู่ของภิกษุนั้น
16
+ 01,0027,015,ลิงตัวเมียนั้นแลเห็นภิกษุเหล่านั้นกำลังเดินมาแต่ไกลเทียว ครั้นแล้วได้เข้าไปหาภิกษุเหล่านั้น
17
+ 01,0027,016,ยกสะเอวบ้าง โก่งหางบ้าง แอ่นตะโพกบ้าง ทำนิมิตบ้าง เบื้องหน้าภิกษุเหล่านั้น จึงภิกษุ
18
+ 01,0027,017,เหล่านั้นสันนิษฐานว่า ภิกษุเจ้าของถิ่นเสพเมถุนธรรมในลิงตัวเมียนี้แน่ ไม่ต้องสงสัย แล้วแฝง
19
+ 01,0027,018,อยู่ ณ ที่กำบังแห่งหนึ่ง.
20
+ 01,0027,019,เมื่อภิกษุเจ้าของถิ่นเที่ยวบิณฑบาตในพระนครเวสาลี ถือบิณฑบาตกลับมาแล้ว ลิงตัวเมีย
21
+ 01,0027,020,นั้นได้เข้าไปหา ครั้นภิกษุเจ้าของถิ่นฉันบิณฑบาตนั้นส่วนหนึ่งแล้ว ได้ให้แก่มันส่วนหนึ่ง
22
+ 01,0027,021,เมื่อมันกินอาหารส่วนนั้นแล้วได้แอ่นตะโพกให้ จึงภิกษุนั้นเสพเมถุนธรรมในมัน.
23
+ 01,0027,022,ทันใด ภิกษุเหล่านั้นได้กล่าวกะภิกษุนั้นว่า อาวุโส พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติสิกขาบท
24
+ 01,0027,023,ไว้แล้วมิใช่หรือ เหตุไร คุณจึงได้เสพเมถุนธรรมในลิงตัวเมียนี้เล่า?
25
+ 01,0027,024,จริงขอรับ พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แล้ว ภิกษุนั้นสารภาพแล้วค้านว่า
26
+ 01,0027,025,แต่พระบัญญัตินั้นเฉพาะหญิงมนุษย์ ไม่เกี่ยวถึงสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย.
01/010028.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010028,001,อาวุโส พระบัญญัตินั้น ย่อมเป็นเหมือนกันทั้งนั้นมิใช่หรือ? การกระทำของคุณนั่น
3
- 01,010028,002,ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ คุณไม่บวชในพระธรรม
4
- 01,010028,003,วินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้แล้ว ไฉนจึงไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์
5
- 01,010028,004,บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตเล่า.
6
- 01,010028,005,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด
7
- 01,010028,006,ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่
8
- 01,010028,007,เพื่อมีความถือมั่นมิใช่หรือ เมื่อธรรมชื่อนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว เพื่อคลายความ
9
- 01,010028,008,กำหนัด คุณยังจักคิดเพื่อมีความกำหนัด เมื่อทรงแสดงเพื่อความพราก คุณยังจักคิดเพื่อความ
10
- 01,010028,009,ประกอบ เมื่อทรงแสดงเพื่อความไม่ถือมั่น คุณยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
11
- 01,010028,010,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่ง
12
- 01,010028,011,ราคะ เพื่อเป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่ง
13
- 01,010028,012,อาลัย เพื่อเป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งตัณหา
14
- 01,010028,013,เพื่อเป็นที่ดับแห่งตัณหา เพื่อออกไปจากตัณหาชื่อวานะ มิใช่หรือ?
15
- 01,010028,014,อาวุโส การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม การ
16
- 01,010028,015,เพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม พระผู้มีพระภาคตรัสบอก
17
- 01,010028,016,ไว้แล้วโดยอเนกปริยาย มิใช่หรือ?
18
- 01,010028,017,อาวุโส การกระทำของคุณนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
19
- 01,010028,018,หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของคุณนั่น เป็นไปเพื่อ
20
- 01,010028,019,ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส
21
- 01,010028,020,แล้ว.
22
- 01,010028,021,ภิกษุเหล่านั้น ติเตียนภิกษุนั้นโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ได้กราบทูลเนื้อความนั้นแด่
23
- 01,010028,022,พระผู้มีพระภาค.
24
- 01,010028,023,ทรงประชุมสงฆ์บัญญัติอนุบัญญัติ ๑
25
- 01,010028,024,[๒๒] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุ��งฆ์ในเพราะเหตุเป็นมูลเค้านั้น
26
- 01,010028,025,ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุนั้นว่า ดูกรภิกษุ ข่าวว่าเธอเสพเมถุนธรรม
27
- 01,010028,026,ในลิงตัวเมีย จริงหรือ?
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0028,001,อาวุโส พระบัญญัตินั้น ย่อมเป็นเหมือนกันทั้งนั้นมิใช่หรือ? การกระทำของคุณนั่น
3
+ 01,0028,002,ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ คุณไม่บวชในพระธรรม
4
+ 01,0028,003,วินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้แล้ว ไฉนจึงไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์
5
+ 01,0028,004,บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตเล่า.
6
+ 01,0028,005,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด
7
+ 01,0028,006,ไม่ใช่เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่
8
+ 01,0028,007,เพื่อมีความถือมั่นมิใช่หรือ เมื่อธรรมชื่อนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว เพื่อคลายความ
9
+ 01,0028,008,กำหนัด คุณยังจักคิดเพื่อมีความกำหนัด เมื่อทรงแสดงเพื่อความพราก คุณยังจักคิดเพื่อความ
10
+ 01,0028,009,ประกอบ เมื่อทรงแสดงเพื่อความไม่ถือมั่น คุณยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
11
+ 01,0028,010,อาวุโส ธรรมอันพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่ง
12
+ 01,0028,011,ราคะ เพื่อเป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่ง
13
+ 01,0028,012,อาลัย เพื่อเป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งตัณหา
14
+ 01,0028,013,เพื่อเป็นที่ดับแห่งตัณหา เพื่อออกไปจากตัณหาชื่อวานะ มิใช่หรือ?
15
+ 01,0028,014,อาวุโส การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม การ
16
+ 01,0028,015,เพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม พระผู้มีพระภาคตรัสบอก
17
+ 01,0028,016,ไว้แล้วโดยอเนกปริยาย มิใช่หรือ?
18
+ 01,0028,017,อาวุโส การกระทำของคุณนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
19
+ 01,0028,018,หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของคุณนั่น เป็นไปเพื่อ
20
+ 01,0028,019,ความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใส
21
+ 01,0028,020,แล้ว.
22
+ 01,0028,021,ภิกษุเหล่านั้น ติเตียนภิกษุนั้นโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ได้กราบทูลเนื้อความนั้นแด่
23
+ 01,0028,022,พระผู้มีพระภาค.
24
+ 01,0028,023,ทรงประชุมสงฆ์บัญญัติอนุบัญญัติ ๑
25
+ 01,0028,024,[๒๒] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ในเพราะเหตุเป็นมูลเค้านั้น
26
+ 01,0028,025,ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุนั้นว่า ดูกรภิกษุ ข่าวว่าเธอเสพเมถุนธรรม
27
+ 01,0028,026,ในลิงตัวเมีย จริงหรือ?
01/010029.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010029,001,จริง พระพุทธเจ้าข้า ภิกษุนั้นทูลสารภาพ?
3
- 01,010029,002,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ
4
- 01,010029,003,ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ เธอบวชในธรรมวินัยอันเรากล่าวไว้ดี
5
- 01,010029,004,อย่างนี้แล้ว ไฉนจึงไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตเล่า.
6
- 01,010029,005,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด ไม่ใช่
7
- 01,010029,006,เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่เพื่อมี
8
- 01,010029,007,ความถือมั่นมิใช่หรือ? เมื่อธรรมชื่อนั้น อันเราแสดงแล้วเพื่อคลายความกำหนัด เธอยังจักคิดเพื่อ
9
- 01,010029,008,มีความกำหนัด เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจักคิดเพื่อความประกอบ เราแสดงเพื่อความ
10
- 01,010029,009,ไม่ถือมั่น เธอยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
11
- 01,010029,010,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งราคะ เพื่อ
12
- 01,010029,011,เป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่งอาลัย
13
- 01,010029,012,เพื่อเป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่
14
- 01,010029,013,ดับแห่งตัณหา เพื่อออกไปจากตัณหาชื่อวานะ มิใช่หรือ?
15
- 01,010029,014,ดูกรโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม
16
- 01,010029,015,การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เราบอกไว้แล้วโดย
17
- 01,010029,016,อเนกปริยาย มิใช่หรือ?
18
- 01,010029,017,ดูกรโมฆบุรุษ องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าในปากอสรพิษที่มีพิษร้าย ยังดีกว่า อันองค์
19
- 01,010029,018,กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของลิงตัวเมีย ไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าในปากงูเห่า
20
- 01,010029,019,ยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่สอดเข้าในองค์กำเนิดของลิงตัวเมีย ไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอสอด
21
- 01,010029,020,เข้าในหลุมถ่านที่ไฟติดลุกโชน ยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของลิงตัวเมีย
22
- 01,010029,021,ไม่ดีเลย.
23
- 01,010029,022,ข้อที่เราว่าดีนั้น เพราะเหตุไร?
24
- 01,010029,023,เพราะบุคคลผู้สอดองค์กำเนิดเข้าในปากอสรพิษเป็นต้นนั้น พึงถึงความตาย หรือความ
25
- 01,010029,024,ทุกข์เพียงแค่ตาย ซึ่งมีการกระทำนั้นเป็นเหตุ และเพราะการกระทำนั้นเป็นปัจจัย เบื้องหน้าแต่
26
- 01,010029,025,แตกกายตายไป ไม่พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนบุคคลผู้ทำการสอดองค์กำเนิดเข้า
27
- 01,010029,026,ในองค์กำเนิดของลิงตัวเมียนั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต
28
- 01,010029,027,นรก ซึ่งมีการกระทำนี้เป็นเหตุ.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0029,001,จริง พระพุทธเจ้าข้า ภิกษุนั้นทูลสารภาพ?
3
+ 01,0029,002,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ
4
+ 01,0029,003,ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ เธอบวชในธรรมวินัยอันเรากล่าวไว้ดี
5
+ 01,0029,004,อย่างนี้แล้ว ไฉนจึงไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตเล่า.
6
+ 01,0029,005,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อคลายความกำหนัด ไม่ใช่
7
+ 01,0029,006,เพื่อมีความกำหนัด เพื่อความพราก ไม่ใช่เพื่อความประกอบ เพื่อความไม่ถือมั่น ไม่ใช่เพื่อมี
8
+ 01,0029,007,ความถือมั่นมิใช่หรือ? เมื่อธรรมชื่อนั้น อันเราแสดงแล้วเพื่อคลายความกำหนัด เธอยังจักคิดเพื่อ
9
+ 01,0029,008,มีความกำหนัด เราแสดงเพื่อความพราก เธอยังจักคิดเพื่อความประกอบ เราแสดงเพื่อความ
10
+ 01,0029,009,ไม่ถือมั่น เธอยังจักคิดเพื่อมีความถือมั่น.
11
+ 01,0029,010,ดูกรโมฆบุรุษ ธรรมอันเราแสดงแล้วโดยอเนกปริยาย เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งราคะ เพื่อ
12
+ 01,0029,011,เป็นที่สร่างแห่งความเมา เพื่อเป็นที่ดับสูญแห่งความระหาย เพื่อเป็นที่หลุดถอนแห่งอาลัย
13
+ 01,0029,012,เพื่อเป็นที่เข้าไปตัดแห่งวัฏฏะ เพื่อเป็นที่สิ้นแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่สำรอกแห่งตัณหา เพื่อเป็นที่
14
+ 01,0029,013,ดับแห่งตัณหา เพื่อออกไปจากตัณหาชื่อวานะ มิใช่หรือ?
15
+ 01,0029,014,ดูกรโมฆบุรุษ การละกาม การกำหนดรู้ความหมายในกาม การกำจัดความระหายในกาม
16
+ 01,0029,015,การเพิกถอนความตรึกอันเกี่ยวด้วยกาม การระงับความกลัดกลุ้มเพราะกาม เราบอกไว้แล้วโดย
17
+ 01,0029,016,อเนกปริยาย มิใช่หรือ?
18
+ 01,0029,017,ดูกรโมฆบุรุษ องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าในปากอสรพิษที่มีพิษร้าย ยังดีกว่า อันองค์
19
+ 01,0029,018,กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของลิงตัวเมีย ไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอสอดเข้าในปากงูเห่า
20
+ 01,0029,019,ยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่สอดเข้าในองค์กำเนิดของลิงตัวเมีย ไม่ดีเลย องค์กำเนิดอันเธอสอด
21
+ 01,0029,020,เข้าในหลุมถ่านที่ไฟติดลุกโชน ยังดีกว่า อันองค์กำเนิดที่เธอสอดเข้าในองค์กำเนิดของลิงตัวเมีย
22
+ 01,0029,021,ไม่ดีเลย.
23
+ 01,0029,022,ข้อที่เราว่าดีนั้น เพราะเหตุไร?
24
+ 01,0029,023,เพราะบุคคลผู้สอดองค์กำเนิดเข้าในปากอสรพิษเป็นต้นนั้น พึงถึงความตาย หรือความ
25
+ 01,0029,024,ทุกข์เพียงแค่ตาย ซึ่งมีการกระทำนั้นเป็นเหตุ และเพราะการกระทำนั้นเป็นปัจจัย เบื้องหน้าแต่
26
+ 01,0029,025,แตกกายตายไป ไม่พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนบุคคลผู้ทำการสอดองค์กำเนิดเข้า
27
+ 01,0029,026,ในองค์กำเนิดของลิงตัวเมียนั้น เบื้องหน้าแต่แตกกายตายไป พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต
28
+ 01,0029,027,นรก ซึ่งมีการกระทำนี้เป็นเหตุ.
01/010030.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010030,001,ดูกรโมฆบุรุษ เมื่อการกระทำนั้นมีโทษอยู่ เธอยังชื่อว่าได้ต้องอสัทธรรม อันเป็นเรื่อง
3
- 01,010030,002,ของชาวบ้าน เป็นมรรยาทของคนชั้นต่ำ อันชั่วหยาบ มีน้ำเป็นที่สุด มีในที่ลับ เป็นของคนคู่
4
- 01,010030,003,อันคนคู่พึงร่วมกันเป็นไป การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
5
- 01,010030,004,เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว... ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอ
6
- 01,010030,005,พึงยกสิขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
7
- 01,010030,006,พระอนุบัญญัติ ๑
8
- 01,010030,007,๑. อนึ่ง ภิกษุใดเสพเมถุนธรรมโดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย เป็น
9
- 01,010030,008,ปาราชิก หาสังวาสมิได้.
10
- 01,010030,009,ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลายด้วยประการ
11
- 01,010030,010,ฉะนี้.
12
- 01,010030,011,เรื่องลิงตัวเมีย ๒ จบ.
13
- 01,010030,012,เรื่องภิกษุวัชชีบุตร
14
- 01,010030,013,[๒๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุวัชชีบุตรชาวพระนครเวสาลีหลายรูป ฉันอาหารพอแก่
15
- 01,010030,014,ความต้องการ จำวัดพอแก่ความต้องการ สรงน้ำพอแก่ความต้องการ ครั้นแล้วทำในใจ
16
- 01,010030,015,โดยไม่แยบคาย ไม่บอกคืนสิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง ได้เสพเมถุนธรรม สมัยอื่น
17
- 01,010030,016,วัชชีบุตรพวกนั้น ถูกความพินาศแห่งญาติกระทบแล้วบ้าง ถูกความวอดวายแห่งโภคะพะพาน
18
- 01,010030,017,แล้วบ้าง ถูกความเสื่อมคือโรคเบียดเบียนแล้วบ้าง จึงเข้าไปหาท่านพระอานนท์ แล้วกล่าว
19
- 01,010030,018,อย่างนี้ว่า ท่านพระอานนท์ เจ้าข้า พวกกระผมไม่ใช่เป็นคนติเตียนพระพุทธเจ้า ไม่ใช่เป็นคน
20
- 01,010030,019,ติเตียนพระธรรม ไม่ใช่เป็นคนติเตียนพระสงฆ์ พวกกระผมเป็นคนติเตียนตน ไม่ใช่เป็นคน
21
- 01,010030,020,ติเตียนคนอื่น พวกกระผมซึ่งบวชในพระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้แล้ว ไม่
22
- 01,010030,021,สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตนั้นแหละ เป็นคนไม่มีวาสนา เป็น
23
- 01,010030,022,คนมีบุญน้อย ท่านพระอานนท์เจ้าข้า แม้บัดนี้ ถ้าพวกกระผมพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบท
24
- 01,010030,023,ในสำนักพระผู้มีพระภาค แม้บัดนี้พวกกระผมจะพึงเป็นผู้เห็นแจ้งซึ่งกุศลธรรม หมั่นประกอบ
25
- 01,010030,024,ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรมอยู่ตลอดเบื้องต้นแห่งราตรีและเบื้องปลายแห่งราตรี ท่าน
26
- 01,010030,025,#๑ ต้องการพิสดาร���ึงดูหน้า ๓๑ บรรทัดที่ ๒๔ ๒ โดยมากปรากฏว่า มักกฏีสิกขาบท
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0030,001,ดูกรโมฆบุรุษ เมื่อการกระทำนั้นมีโทษอยู่ เธอยังชื่อว่าได้ต้องอสัทธรรม อันเป็นเรื่อง
3
+ 01,0030,002,ของชาวบ้าน เป็นมรรยาทของคนชั้นต่ำ อันชั่วหยาบ มีน้ำเป็นที่สุด มีในที่ลับ เป็นของคนคู่
4
+ 01,0030,003,อันคนคู่พึงร่วมกันเป็นไป การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
5
+ 01,0030,004,เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว... ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอ
6
+ 01,0030,005,พึงยกสิขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
7
+ 01,0030,006,พระอนุบัญญัติ ๑
8
+ 01,0030,007,๑. อนึ่ง ภิกษุใดเสพเมถุนธรรมโดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย เป็น
9
+ 01,0030,008,ปาราชิก หาสังวาสมิได้.
10
+ 01,0030,009,ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลายด้วยประการ
11
+ 01,0030,010,ฉะนี้.
12
+ 01,0030,011,เรื่องลิงตัวเมีย ๒ จบ.
13
+ 01,0030,012,เรื่องภิกษุวัชชีบุตร
14
+ 01,0030,013,[๒๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุวัชชีบุตรชาวพระนครเวสาลีหลายรูป ฉันอาหารพอแก่
15
+ 01,0030,014,ความต้องการ จำวัดพอแก่ความต้องการ สรงน้ำพอแก่ความต้องการ ครั้นแล้วทำในใจ
16
+ 01,0030,015,โดยไม่แยบคาย ไม่บอกคืนสิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง ได้เสพเมถุนธรรม สมัยอื่น
17
+ 01,0030,016,วัชชีบุตรพวกนั้น ถูกความพินาศแห่งญาติกระทบแล้วบ้าง ถูกความวอดวายแห่งโภคะพะพาน
18
+ 01,0030,017,แล้วบ้าง ถูกความเสื่อมคือโรคเบียดเบียนแล้วบ้าง จึงเข้าไปหาท่านพระอานนท์ แล้วกล่าว
19
+ 01,0030,018,อย่างนี้ว่า ท่านพระอานนท์ เจ้าข้า พวกกระผมไม่ใช่เป็นคนติเตียนพระพุทธเจ้า ไม่ใช่เป็นคน
20
+ 01,0030,019,ติเตียนพระธรรม ไม่ใช่เป็นคนติเตียนพระสงฆ์ พวกกระผมเป็นคนติเตียนตน ไม่ใช่เป็นคน
21
+ 01,0030,020,ติเตียนคนอื่น พวกกระผมซึ่งบวชในพระธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ดีอย่างนี้แล้ว ไม่
22
+ 01,0030,021,สามารถประพฤติพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์บริสุทธิ์ได้ตลอดชีวิตนั้นแหละ เป็นคนไม่มีวาสนา เป็น
23
+ 01,0030,022,คนมีบุญน้อย ท่านพระอานนท์เจ้าข้า แม้บัดนี้ ถ้าพวกกระผมพึงได้บรรพชา พึงได้อุปสมบท
24
+ 01,0030,023,ในสำนักพระผู้มีพระภาค แม้บัดนี้พวกกระผมจะพึงเป็นผู้เห็นแจ้งซึ่งกุศลธรรม หมั่นประกอบ
25
+ 01,0030,024,ความเพียรในการเจริญโพธิปักขิยธรรมอยู่ตลอดเบื้องต้นแห่งราตรีและเบื้องปลายแห่งราตรี ท��าน
26
+ 01,0030,025,#๑ ต้องการพิสดารพึงดูหน้า ๓๑ บรรทัดที่ ๒๔ ๒ โดยมากปรากฏว่า มักกฏีสิกขาบท
01/010031.csv CHANGED
@@ -1,25 +1,25 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010031,001,พระอานนท์เจ้าข้า พวกกระผมขอโอกาส ขอท่านได้โปรดกรุณากราบทูลความข้อนี้ แด่พระผู้มี
3
- 01,010031,002,พระภาค.
4
- 01,010031,003,ได้ จ้ะ ท่านพระอานนท์รับคำของพวกวัชชีบุตรชาวพระนครเวสาลี แล้วเข้าเฝ้าพระผู้มี
5
- 01,010031,004,พระภาค กราบทูลเรื่องนั้นให้ทรงทราบ.
6
- 01,010031,005,พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ การที่ตถาคตจะพึงถอนปาราชิกสิกขาบทที่บัญญัติ
7
- 01,010031,006,แล้วแก่สาวกทั้งหลาย เพราะเหตุแห่งพวกวัชชีหรือพวกวัชชีบุตรนั้น ไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาส.
8
- 01,010031,007,ทรงบัญญัติอนุบัญญัติ ๒
9
- 01,010031,008,[๒๔] ครั้งนั้นพระองค์ทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นมูลเค้านั้น ในเพราะเหตุ
10
- 01,010031,009,แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดแลเป็นภิกษุ ไม่บอกคืน
11
- 01,010031,010,สิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง เสพเมถุนธรรม ผู้นั้นมาแล้ว สงฆ์ไม่พึงอุปสมบทให้
12
- 01,010031,011,ส่วนผู้ใดแล เป็นภิกษุ บอกคืนสิกขา ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง แล้วเสพเมถุนธรรม
13
- 01,010031,012,ผู้นั้นมาแล้ว สงฆ์พึงอุปสมบทให้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง
14
- 01,010031,013,อย่างนี้ ว่าดังนี้:-
15
- 01,010031,014,พระอนุบัญญัติ ๒
16
- 01,010031,015,๑. อนึ่ง ภิกษุใด ถึงพร้อมซึ่งสิกขาบทและสาชีพของภิกษุทั้งหลายแล้ว ไม่
17
- 01,010031,016,บอกคืนสิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง เสพเมถุนธรรม โดยที่สุดแม้ในสัตว์
18
- 01,010031,017,ดิรัจฉานตัวเมีย เป็นปาราชิก หาสังวาส มิได้.
19
- 01,010031,018,สิกขาบทวิภังค์
20
- 01,010031,019,[๒๕] บทว่า อนึ่ง ... ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงานอย่างใด มีชาติ
21
- 01,010031,020,อย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด
22
- 01,010031,021,เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อนึ่ง ... ใด.
23
- 01,010031,022,[๒๖] บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้ขอ ชื่อว่า ภิกษุ
24
- 01,010031,023,เพราะอรรถว่าประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า
25
- 01,010031,024,ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0031,001,พระอานนท์เจ้าข้า พวกกระผมขอโอกาส ขอท่านได้โปรดกรุณากราบทูลความข้อนี้ แด่พระผู้มี
3
+ 01,0031,002,พระภาค.
4
+ 01,0031,003,ได้ จ้ะ ท���านพระอานนท์รับคำของพวกวัชชีบุตรชาวพระนครเวสาลี แล้วเข้าเฝ้าพระผู้มี
5
+ 01,0031,004,พระภาค กราบทูลเรื่องนั้นให้ทรงทราบ.
6
+ 01,0031,005,พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ การที่ตถาคตจะพึงถอนปาราชิกสิกขาบทที่บัญญัติ
7
+ 01,0031,006,แล้วแก่สาวกทั้งหลาย เพราะเหตุแห่งพวกวัชชีหรือพวกวัชชีบุตรนั้น ไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาส.
8
+ 01,0031,007,ทรงบัญญัติอนุบัญญัติ ๒
9
+ 01,0031,008,[๒๔] ครั้งนั้นพระองค์ทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นมูลเค้านั้น ในเพราะเหตุ
10
+ 01,0031,009,แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดแลเป็นภิกษุ ไม่บอกคืน
11
+ 01,0031,010,สิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง เสพเมถุนธรรม ผู้นั้นมาแล้ว สงฆ์ไม่พึงอุปสมบทให้
12
+ 01,0031,011,ส่วนผู้ใดแล เป็นภิกษุ บอกคืนสิกขา ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง แล้วเสพเมถุนธรรม
13
+ 01,0031,012,ผู้นั้นมาแล้ว สงฆ์พึงอุปสมบทให้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง
14
+ 01,0031,013,อย่างนี้ ว่าดังนี้:-
15
+ 01,0031,014,พระอนุบัญญัติ ๒
16
+ 01,0031,015,๑. อนึ่ง ภิกษุใด ถึงพร้อมซึ่งสิกขาบทและสาชีพของภิกษุทั้งหลายแล้ว ไม่
17
+ 01,0031,016,บอกคืนสิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง เสพเมถุนธรรม โดยที่สุดแม้ในสัตว์
18
+ 01,0031,017,ดิรัจฉานตัวเมีย เป็นปาราชิก หาสังวาส มิได้.
19
+ 01,0031,018,สิกขาบทวิภังค์
20
+ 01,0031,019,[๒๕] บทว่า อนึ่ง ... ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงานอย่างใด มีชาติ
21
+ 01,0031,020,อย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด
22
+ 01,0031,021,เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อนึ่ง ... ใด.
23
+ 01,0031,022,[๒๖] บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้ขอ ชื่อว่า ภิกษุ
24
+ 01,0031,023,เพราะอรรถว่าประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า
25
+ 01,0031,024,ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า
01/010032.csv CHANGED
@@ -1,25 +1,25 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010032,001,ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็น
3
- 01,010032,002,ผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่ามีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นพระเสขะ ชื่อว่า
4
- 01,010032,003,ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน
5
- 01,010032,004,อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์
6
- 01,010032,005,พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะนี้ ชื่อว่า ภิกษุ
7
- 01,010032,006,ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.
8
- 01,010032,007,[๒๗] บทว่า สิกขา ได้แก่สิกขา ๓ ประการคือ อธิสีลสิขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญา-
9
- 01,010032,008,สิกขา บรรดาสิกขา ๓ ประการเหล่านั้น อธิสีลสิกขานี้ ชื่อว่า สิกขา ที่ทรงประสงค์ใน
10
- 01,010032,009,อรรถนี้.
11
- 01,010032,010,[๒๘] ชื่อว่า สาชีพ อธิบายว่า สิกขาบทใด ที่พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ สิกขาบท
12
- 01,010032,011,นั้น ชื่อว่า สาชีพ ภิกษุศึกษาในสาชีพนั้น เพราะเหตุนั้นจึงตรัสว่า ถึงพร้อมซึ่งสาชีพ.
13
- 01,010032,012,[๒๙] คำว่า ไม่บอกคืนสิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง ทรงอธิบายไว้ว่า
14
- 01,010032,013,ภิกษุทั้งหลาย การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืนก็มี ภิกษุทั้งหลาย
15
- 01,010032,014,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาเป็นอันบอกคืนก็มี.
16
- 01,010032,015,ลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน [๑๖๐ บท]
17
- 01,010032,016,[๓๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การกระทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอัน
18
- 01,010032,017,บอกคืน เป็นอย่างไร?
19
- 01,010032,018,กล่าวบอกคืนด้วยคำรำพึงว่าไฉนหนอ [๑๔ บท]
20
- 01,010032,019,๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
21
- 01,010032,020,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
22
- 01,010032,021,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
23
- 01,010032,022,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
24
- 01,010032,023,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระพุทธเจ้า
25
- 01,010032,024,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิก��าไม่เป็นอันบอกคืน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0032,001,ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็น
3
+ 01,0032,002,ผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่ามีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นพระเสขะ ชื่อว่า
4
+ 01,0032,003,ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกัน
5
+ 01,0032,004,อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์
6
+ 01,0032,005,พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะนี้ ชื่อว่า ภิกษุ
7
+ 01,0032,006,ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.
8
+ 01,0032,007,[๒๗] บทว่า สิกขา ได้แก่สิกขา ๓ ประการคือ อธิสีลสิขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญา-
9
+ 01,0032,008,สิกขา บรรดาสิกขา ๓ ประการเหล่านั้น อธิสีลสิกขานี้ ชื่อว่า สิกขา ที่ทรงประสงค์ใน
10
+ 01,0032,009,อรรถนี้.
11
+ 01,0032,010,[๒๘] ชื่อว่า สาชีพ อธิบายว่า สิกขาบทใด ที่พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ สิกขาบท
12
+ 01,0032,011,นั้น ชื่อว่า สาชีพ ภิกษุศึกษาในสาชีพนั้น เพราะเหตุนั้นจึงตรัสว่า ถึงพร้อมซึ่งสาชีพ.
13
+ 01,0032,012,[๒๙] คำว่า ไม่บอกคืนสิกขา ไม่ทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง ทรงอธิบายไว้ว่า
14
+ 01,0032,013,ภิกษุทั้งหลาย การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืนก็มี ภิกษุทั้งหลาย
15
+ 01,0032,014,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาเป็นอันบอกคืนก็มี.
16
+ 01,0032,015,ลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน [๑๖๐ บท]
17
+ 01,0032,016,[๓๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การกระทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอัน
18
+ 01,0032,017,บอกคืน เป็นอย่างไร?
19
+ 01,0032,018,กล่าวบอกคืนด้วยคำรำพึงว่าไฉนหนอ [๑๔ บท]
20
+ 01,0032,019,๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
21
+ 01,0032,020,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
22
+ 01,0032,021,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
23
+ 01,0032,022,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
24
+ 01,0032,023,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระพุทธเจ้า
25
+ 01,0032,024,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบ��กคืน.
01/010033.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010033,001,๒. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
3
- 01,010033,002,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นอุบาสก ปรารถนา
4
- 01,010033,003,ความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็นเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็น
5
- 01,010033,004,สาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร
6
- 01,010033,005,ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
7
- 01,010033,006,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน
8
- 01,010033,007,๓. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
9
- 01,010033,008,๔. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
10
- 01,010033,009,๕. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
11
- 01,010033,010,๖. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
12
- 01,010033,011,๗. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
13
- 01,010033,012,๘. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
14
- 01,010033,013,๙. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
15
- 01,010033,014,๑๐. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
16
- 01,010033,015,๑๑. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
17
- 01,010033,016,๑๒. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
18
- 01,010033,017,๑๓. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
19
- 01,010033,018,๑๔. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
20
- 01,010033,019,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
21
- 01,010033,020,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำรำพึงว่า ไฉนหนอ [๘ บท]
22
- 01,010033,021,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความเป็น
23
- 01,010033,022,สมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
24
- 01,010033,023,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
25
- 01,010033,024,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
26
- 01,010033,025,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์
27
- 01,010033,026,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0033,001,๒. ก็อีกประการ��นึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
3
+ 01,0033,002,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นอุบาสก ปรารถนา
4
+ 01,0033,003,ความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็นเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็น
5
+ 01,0033,004,สาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร
6
+ 01,0033,005,ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
7
+ 01,0033,006,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน
8
+ 01,0033,007,๓. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
9
+ 01,0033,008,๔. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
10
+ 01,0033,009,๕. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
11
+ 01,0033,010,๖. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
12
+ 01,0033,011,๗. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
13
+ 01,0033,012,๘. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
14
+ 01,0033,013,๙. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
15
+ 01,0033,014,๑๐. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
16
+ 01,0033,015,๑๑. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
17
+ 01,0033,016,๑๒. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
18
+ 01,0033,017,๑๓. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
19
+ 01,0033,018,๑๔. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
20
+ 01,0033,019,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
21
+ 01,0033,020,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำรำพึงว่า ไฉนหนอ [๘ บท]
22
+ 01,0033,021,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความเป็น
23
+ 01,0033,022,สมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
24
+ 01,0033,023,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
25
+ 01,0033,024,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
26
+ 01,0033,025,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์
27
+ 01,0033,026,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
01/010034.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010034,001,๒. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
3
- 01,010034,002,๓. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
4
- 01,010034,003,๔. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
5
- 01,010034,004,๕. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
6
- 01,010034,005,๖. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
7
- 01,010034,006,๗. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
8
- 01,010034,007,๘. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้
9
- 01,010034,008,อย่างนี้ก็เชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
10
- 01,010034,009,กล่าวว่าบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า ก็ถ้าว่า [๑๔ บท]
11
- 01,010034,010,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
12
- 01,010034,011,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
13
- 01,010034,012,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
14
- 01,010034,013,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
15
- 01,010034,014,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระพุทธเจ้า
16
- 01,010034,015,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
17
- 01,010034,016,๒. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
18
- 01,010034,017,๓. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
19
- 01,010034,018,๔. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
20
- 01,010034,019,๕. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
21
- 01,010034,020,๖. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
22
- 01,010034,021,๗. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
23
- 01,010034,022,๘. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
24
- 01,010034,023,๙. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
25
- 01,010034,024,๑๐. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
26
- 01,010034,025,๑๑. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
27
- 01,010034,026,๑๒. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0034,001,๒. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
3
+ 01,0034,002,๓. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
4
+ 01,0034,003,๔. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
5
+ 01,0034,004,๕. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
6
+ 01,0034,005,๖. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
7
+ 01,0034,006,๗. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
8
+ 01,0034,007,๘. ... ไฉนหนอ ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้
9
+ 01,0034,008,อย่างนี้ก็เชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
10
+ 01,0034,009,กล่าวว่าบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า ก็ถ้าว่า [๑๔ บท]
11
+ 01,0034,010,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
12
+ 01,0034,011,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
13
+ 01,0034,012,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
14
+ 01,0034,013,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
15
+ 01,0034,014,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระพุทธเจ้า
16
+ 01,0034,015,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
17
+ 01,0034,016,๒. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
18
+ 01,0034,017,๓. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
19
+ 01,0034,018,๔. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
20
+ 01,0034,019,๕. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
21
+ 01,0034,020,๖. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
22
+ 01,0034,021,๗. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
23
+ 01,0034,022,๘. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
24
+ 01,0034,023,๙. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
25
+ 01,0034,024,๑๐. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
26
+ 01,0034,025,๑๑. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
27
+ 01,0034,026,๑๒. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
01/010035.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010035,001,๑๓. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
3
- 01,010035,002,๑๔. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
4
- 01,010035,003,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
5
- 01,010035,004,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า ก็ถ้าว่า [๘ บท]
6
- 01,010035,005,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
7
- 01,010035,006,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
8
- 01,010035,007,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
9
- 01,010035,008,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
10
- 01,010035,009,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์ ดูกร
11
- 01,010035,010,ภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
12
- 01,010035,011,๒. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
13
- 01,010035,012,๓. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
14
- 01,010035,013,๔. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
15
- 01,010035,014,๕. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
16
- 01,010035,015,๖. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
17
- 01,010035,016,๗. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
18
- 01,010035,017,๘. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
19
- 01,010035,018,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
20
- 01,010035,019,กล่าวบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า หากว่า [๑๔ บท]
21
- 01,010035,020,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
22
- 01,010035,021,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
23
- 01,010035,022,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
24
- 01,010035,023,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เป็นสมณะ ปรารถนาความ
25
- 01,010035,024,เป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระ-
26
- 01,010035,025,พุทธเจ้า. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ท��รพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็น
27
- 01,010035,026,อันบอกคืน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0035,001,๑๓. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
3
+ 01,0035,002,๑๔. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
4
+ 01,0035,003,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
5
+ 01,0035,004,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า ก็ถ้าว่า [๘ บท]
6
+ 01,0035,005,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
7
+ 01,0035,006,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
8
+ 01,0035,007,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
9
+ 01,0035,008,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
10
+ 01,0035,009,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์ ดูกร
11
+ 01,0035,010,ภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
12
+ 01,0035,011,๒. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
13
+ 01,0035,012,๓. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
14
+ 01,0035,013,๔. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
15
+ 01,0035,014,๕. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
16
+ 01,0035,015,๖. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
17
+ 01,0035,016,๗. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
18
+ 01,0035,017,๘. ... ก็ถ้าว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
19
+ 01,0035,018,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
20
+ 01,0035,019,กล่าวบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า หากว่า [๑๔ บท]
21
+ 01,0035,020,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
22
+ 01,0035,021,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
23
+ 01,0035,022,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
24
+ 01,0035,023,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เป็นสมณะ ปรารถนาความ
25
+ 01,0035,024,เป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระ-
26
+ 01,0035,025,พุทธเจ้า. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำควา���เป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็น
27
+ 01,0035,026,อันบอกคืน.
01/010036.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010036,001,๒. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
3
- 01,010036,002,๓. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
4
- 01,010036,003,๔. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
5
- 01,010036,004,๕. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
6
- 01,010036,005,๖. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
7
- 01,010036,006,๗. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
8
- 01,010036,007,๘. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
9
- 01,010036,008,๙. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
10
- 01,010036,009,๑๐. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิหาริก ...
11
- 01,010036,010,๑๑. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
12
- 01,010036,011,๑๒. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
13
- 01,010036,012,๑๓. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
14
- 01,010036,013,๑๔. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
15
- 01,010036,014,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
16
- 01,010036,015,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า หากว่า [๘ บท]
17
- 01,010036,016,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
18
- 01,010036,017,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
19
- 01,010036,018,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
20
- 01,010036,019,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
21
- 01,010036,020,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์. ดูกร
22
- 01,010036,021,ภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
23
- 01,010036,022,๒. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
24
- 01,010036,023,๓. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
25
- 01,010036,024,๔. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
26
- 01,010036,025,๕. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
27
- 01,010036,026,๖. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0036,001,๒. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
3
+ 01,0036,002,๓. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
4
+ 01,0036,003,๔. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
5
+ 01,0036,004,๕. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
6
+ 01,0036,005,๖. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
7
+ 01,0036,006,๗. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
8
+ 01,0036,007,๘. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพร���อุปัชฌายะ ...
9
+ 01,0036,008,๙. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
10
+ 01,0036,009,๑๐. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิหาริก ...
11
+ 01,0036,010,๑๑. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
12
+ 01,0036,011,๑๒. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
13
+ 01,0036,012,๑๓. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
14
+ 01,0036,013,๑๔. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
15
+ 01,0036,014,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
16
+ 01,0036,015,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า หากว่า [๘ บท]
17
+ 01,0036,016,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
18
+ 01,0036,017,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
19
+ 01,0036,018,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
20
+ 01,0036,019,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
21
+ 01,0036,020,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์. ดูกร
22
+ 01,0036,021,ภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
23
+ 01,0036,022,๒. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
24
+ 01,0036,023,๓. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
25
+ 01,0036,024,๔. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
26
+ 01,0036,025,๕. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
27
+ 01,0036,026,๖. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
01/010037.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010037,001,๗. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
3
- 01,010037,002,๘. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
4
- 01,010037,003,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
5
- 01,010037,004,กล่าวบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า ผิว่า [๑๔ บท]
6
- 01,010037,005,๑. อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
7
- 01,010037,006,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
8
- 01,010037,007,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
9
- 01,010037,008,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เป็นสมณะ ปรารถนาความ
10
- 01,010037,009,เป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระพุทธเจ้า.
11
- 01,010037,010,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอัน
12
- 01,010037,011,บอกคืน.
13
- 01,010037,012,๒. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
14
- 01,010037,013,๓. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
15
- 01,010037,014,๔. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
16
- 01,010037,015,๕. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
17
- 01,010037,016,๖. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
18
- 01,010037,017,๗. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
19
- 01,010037,018,๘. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
20
- 01,010037,019,๙. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
21
- 01,010037,020,๑๐. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
22
- 01,010037,021,๑๑. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
23
- 01,010037,022,๑๒. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
24
- 01,010037,023,๑๓. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
25
- 01,010037,024,๑๔. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็
26
- 01,010037,025,ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาบทไม่เป็นอันบอกคืน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0037,001,๗. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
3
+ 01,0037,002,๘. ... หากว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้
4
+ 01,0037,003,ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
5
+ 01,0037,004,กล่าวบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า ผิว่า [๑๔ บท]
6
+ 01,0037,005,๑. อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
7
+ 01,0037,006,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
8
+ 01,0037,007,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
9
+ 01,0037,008,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เป็นสมณะ ปรารถนาความ
10
+ 01,0037,009,เป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระพุทธเจ้า.
11
+ 01,0037,010,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอัน
12
+ 01,0037,011,บอกคืน.
13
+ 01,0037,012,๒. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
14
+ 01,0037,013,๓. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
15
+ 01,0037,014,๔. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
16
+ 01,0037,015,๕. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
17
+ 01,0037,016,๖. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
18
+ 01,0037,017,๗. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
19
+ 01,0037,018,๘. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
20
+ 01,0037,019,๙. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
21
+ 01,0037,020,๑๐. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
22
+ 01,0037,021,๑๑. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
23
+ 01,0037,022,๑๒. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
24
+ 01,0037,023,๑๓. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
25
+ 01,0037,024,๑๔. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็
26
+ 01,0037,025,ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาบทไม่เป็นอันบอกคืน.
01/010038.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010038,001,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า ผิว่า [๘ บท]
3
- 01,010038,002,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
- 01,010038,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
- 01,010038,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
- 01,010038,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
7
- 01,010038,006,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์. ดูกรภิกษุ
8
- 01,010038,007,ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
9
- 01,010038,008,๒. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
10
- 01,010038,009,๓. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
11
- 01,010038,010,๔. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
12
- 01,010038,011,๕. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
13
- 01,010038,012,๖. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
14
- 01,010038,013,๗. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
15
- 01,010038,014,๘. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็
16
- 01,010038,015,ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
17
- 01,010038,016,กล่าวบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า มีความดำริ [๑๔ บท]
18
- 01,010038,017,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
19
- 01,010038,018,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
20
- 01,010038,019,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
21
- 01,010038,020,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
22
- 01,010038,021,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอก
23
- 01,010038,022,คืนพระพุทธเจ้า. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่
24
- 01,010038,023,เป็นอันบอกคืน.
25
- 01,010038,024,๒. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
26
- 01,010038,025,๓. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
27
- 01,010038,026,๔. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
28
- 01,010038,027,๕. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0038,001,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า ผิว่า [๘ บท]
3
+ 01,0038,002,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
+ 01,0038,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
+ 01,0038,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
+ 01,0038,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
7
+ 01,0038,006,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นคฤหัสถ์. ดูกรภิกษุ
8
+ 01,0038,007,ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
9
+ 01,0038,008,๒. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
10
+ 01,0038,009,๓. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
11
+ 01,0038,010,๔. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
12
+ 01,0038,011,๕. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
13
+ 01,0038,012,๖. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
14
+ 01,0038,013,๗. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
15
+ 01,0038,014,๘. ... ผิว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็
16
+ 01,0038,015,ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
17
+ 01,0038,016,กล่าวบอกคืนด้วยคำปริกัป ว่า มีความดำริ [๑๔ บท]
18
+ 01,0038,017,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
19
+ 01,0038,018,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
20
+ 01,0038,019,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
21
+ 01,0038,020,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
22
+ 01,0038,021,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอก
23
+ 01,0038,022,คืนพระพุทธเจ้า. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่
24
+ 01,0038,023,เป็นอันบอกคืน.
25
+ 01,0038,024,๒. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระธรรม ...
26
+ 01,0038,025,๓. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสงฆ์ ...
27
+ 01,0038,026,๔. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนสิกขา ...
28
+ 01,0038,027,๕. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนวินัย ...
01/010039.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010039,001,๖. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
3
- 01,010039,002,๗. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
4
- 01,010039,003,๘. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
5
- 01,010039,004,๙. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
6
- 01,010039,005,๑๐. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
7
- 01,010039,006,๑๑. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
8
- 01,010039,007,๑๒. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
9
- 01,010039,008,๑๓. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
10
- 01,010039,009,๑๔. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่าง
11
- 01,010039,010,นี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
12
- 01,010039,011,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า มีความดำริว่า [๘ บท]
13
- 01,010039,012,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินยอม ใคร่จะเคลื่อนจากความ
14
- 01,010039,013,สมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
15
- 01,010039,014,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
16
- 01,010039,015,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
17
- 01,010039,016,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็น
18
- 01,010039,017,คฤหัสถ์. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอัน
19
- 01,010039,018,บอกคืน
20
- 01,010039,019,๒. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
21
- 01,010039,020,๓. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
22
- 01,010039,021,๔. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
23
- 01,010039,022,๕. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
24
- 01,010039,023,๖. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
25
- 01,010039,024,๗. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
26
- 01,010039,025,๘. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุ
27
- 01,010039,026,ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0039,001,๖. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนปาติโมกข์ ...
3
+ 01,0039,002,๗. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนอุเทศ ...
4
+ 01,0039,003,๘. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
5
+ 01,0039,004,๙. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอาจารย์ ...
6
+ 01,0039,005,๑๐. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
7
+ 01,0039,006,๑๑. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
8
+ 01,0039,007,๑๒. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
9
+ 01,0039,008,๑๓. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
10
+ 01,0039,009,๑๔. ... มีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่าง
11
+ 01,0039,010,นี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
12
+ 01,0039,011,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำปริกัป ว่า มีความดำริว่า [๘ บท]
13
+ 01,0039,012,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินยอม ใคร่จะเคลื่อนจากความ
14
+ 01,0039,013,สมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
15
+ 01,0039,014,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
16
+ 01,0039,015,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
17
+ 01,0039,016,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็น
18
+ 01,0039,017,คฤหัสถ์. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอัน
19
+ 01,0039,018,บอกคืน
20
+ 01,0039,019,๒. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอุบาสก ...
21
+ 01,0039,020,๓. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นอารามิก ...
22
+ 01,0039,021,๔. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสามเณร ...
23
+ 01,0039,022,๕. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นเดียรถีย์ ...
24
+ 01,0039,023,๖. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
25
+ 01,0039,024,๗. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
26
+ 01,0039,025,๘. ... ข้าพเจ้ามีความดำริว่า ข้าพเจ้าพึงเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุ
27
+ 01,0039,026,ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
01/010040.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010040,001,อ้างวัตถุที่รำลึก [๑๗ บท]
3
- 01,010040,002,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
- 01,010040,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
- 01,010040,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
- 01,010040,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
7
- 01,010040,006,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าระลึกถึงมารดา. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
8
- 01,010040,007,แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
9
- 01,010040,008,๒. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงบิดา ...
10
- 01,010040,009,๓. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงพี่ชายน้องชาย ...
11
- 01,010040,010,๔. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงพี่หญิงน้องหญิง ...
12
- 01,010040,011,๕. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงบุตร ...
13
- 01,010040,012,๖. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงธิดา ...
14
- 01,010040,013,๗. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงภริยา ...
15
- 01,010040,014,๘. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงหมู่ญาติ ...
16
- 01,010040,015,๙. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงหมู่มิตร ...
17
- 01,010040,016,๑๐. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงบ้าน ...
18
- 01,010040,017,๑๑. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงนิคม ...
19
- 01,010040,018,๑๒. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงนา ...
20
- 01,010040,019,๑๓. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงสวน ...
21
- 01,010040,020,๑๔. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงเงิน ...
22
- 01,010040,021,๑๕. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงทอง ...
23
- 01,010040,022,๑๖. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงศิลปะ ...
24
- 01,010040,023,๑๗. ... ข้าพเจ้าหวนรำลึกถึงการหัวเราะ การเจรจา การเล่นในครั้งก่อน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
25
- 01,010040,024,แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
26
- 01,010040,025,แสดงความห่วงใย [๙ บท]
27
- 01,010040,026,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความเป็น
28
- 01,010040,027,สมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา-
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0040,001,อ้างวัตถุที่รำลึก [๑๗ บท]
3
+ 01,0040,002,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
+ 01,0040,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
+ 01,0040,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
+ 01,0040,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ��รารถนาความเป็น
7
+ 01,0040,006,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าระลึกถึงมารดา. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
8
+ 01,0040,007,แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
9
+ 01,0040,008,๒. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงบิดา ...
10
+ 01,0040,009,๓. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงพี่ชายน้องชาย ...
11
+ 01,0040,010,๔. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงพี่หญิงน้องหญิง ...
12
+ 01,0040,011,๕. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงบุตร ...
13
+ 01,0040,012,๖. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงธิดา ...
14
+ 01,0040,013,๗. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงภริยา ...
15
+ 01,0040,014,๘. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงหมู่ญาติ ...
16
+ 01,0040,015,๙. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงหมู่มิตร ...
17
+ 01,0040,016,๑๐. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงบ้าน ...
18
+ 01,0040,017,๑๑. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงนิคม ...
19
+ 01,0040,018,๑๒. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงนา ...
20
+ 01,0040,019,๑๓. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงสวน ...
21
+ 01,0040,020,๑๔. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงเงิน ...
22
+ 01,0040,021,๑๕. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงทอง ...
23
+ 01,0040,022,๑๖. ... ข้าพเจ้าระลึกถึงศิลปะ ...
24
+ 01,0040,023,๑๗. ... ข้าพเจ้าหวนรำลึกถึงการหัวเราะ การเจรจา การเล่นในครั้งก่อน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
25
+ 01,0040,024,แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
26
+ 01,0040,025,แสดงความห่วงใย [๙ บท]
27
+ 01,0040,026,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความเป็น
28
+ 01,0040,027,สมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา-
01/010041.csv CHANGED
@@ -1,26 +1,26 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010041,001,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
3
- 01,010041,002,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
4
- 01,010041,003,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า มารดาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดู
5
- 01,010041,004,ท่าน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขา ไม่เป็นอัน
6
- 01,010041,005,บอกคืน.
7
- 01,010041,006,๒. ... บิดาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูท่าน ...
8
- 01,010041,007,๓. ... พี่ชายน้องชายของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
9
- 01,010041,008,๔. ... พี่หญิงน้องหญิงของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
10
- 01,010041,009,๕. ... บุตรของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
11
- 01,010041,010,๖. ... ธิดาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
12
- 01,010041,011,๗. ... ภริยาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
13
- 01,010041,012,๘. ... หมู่ญาติของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
14
- 01,010041,013,๙. ... หมู่มิตรของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
15
- 01,010041,014,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
16
- 01,010041,015,อ้างที่อยู่ที่อาศัย [๑๖ บท]
17
- 01,010041,016,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
18
- 01,010041,017,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
19
- 01,010041,018,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
20
- 01,010041,019,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
21
- 01,010041,020,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า มารดาของข้าพเจ้ามี ท่านจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า
22
- 01,010041,021,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
23
- 01,010041,022,๒. ... บิดาของข้าพเจ้ามี ท่านจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
24
- 01,010041,023,๓. ... พี่ชายน้องชายของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
25
- 01,010041,024,๔. ... พี่หญิงน้องหญิงของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
26
- 01,010041,025,๕. ... บุตรของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0041,001,ความเป็นอุบาสก ปรารถนา��วามเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
3
+ 01,0041,002,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
4
+ 01,0041,003,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า มารดาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดู
5
+ 01,0041,004,ท่าน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขา ไม่เป็นอัน
6
+ 01,0041,005,บอกคืน.
7
+ 01,0041,006,๒. ... บิดาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูท่าน ...
8
+ 01,0041,007,๓. ... พี่ชายน้องชายของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
9
+ 01,0041,008,๔. ... พี่หญิงน้องหญิงของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
10
+ 01,0041,009,๕. ... บุตรของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
11
+ 01,0041,010,๖. ... ธิดาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
12
+ 01,0041,011,๗. ... ภริยาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
13
+ 01,0041,012,๘. ... หมู่ญาติของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา ...
14
+ 01,0041,013,๙. ... หมู่มิตรของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าต้องเลี้ยงดูเขา. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
15
+ 01,0041,014,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
16
+ 01,0041,015,อ้างที่อยู่ที่อาศัย [๑๖ บท]
17
+ 01,0041,016,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
18
+ 01,0041,017,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
19
+ 01,0041,018,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
20
+ 01,0041,019,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
21
+ 01,0041,020,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า มารดาของข้าพเจ้ามี ท่านจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า
22
+ 01,0041,021,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
23
+ 01,0041,022,๒. ... บิดาของข้าพเจ้ามี ท่านจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
24
+ 01,0041,023,๓. ... พี่ชายน้องชายของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
25
+ 01,0041,024,๔. ... พี่หญิงน้องหญิงของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
26
+ 01,0041,025,๕. ... บุตรของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
01/010042.csv CHANGED
@@ -1,29 +1,29 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010042,001,๖. ... ธิดาของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
3
- 01,010042,002,๗. ... ภริยาของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
4
- 01,010042,003,๘. ... หมู่ญาติของข้าพเจ้ามี พวกเขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
5
- 01,010042,004,๙. ... หมู่มิตรของข้าพเจ้ามี พวกเขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
6
- 01,010042,005,๑๐. ... บ้านของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยบ้านนั้น ...
7
- 01,010042,006,๑๑. ... นิคมของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยนิคมนั้น ...
8
- 01,010042,007,๑๒. ... นาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยนานั้น ...
9
- 01,010042,008,๑๓. ... สวนของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยสวนนั้น ...
10
- 01,010042,009,๑๔. ... เงินของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยเงินนั้น ...
11
- 01,010042,010,๑๕. ... ทองของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยทองนั้น ...
12
- 01,010042,011,๑๖. ... ศิลปะของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยศิลปะนั้น ...
13
- 01,010042,012,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
14
- 01,010042,013,อ้างว่าพรหมจรรย์ทำได้ยาก [๘ บท]
15
- 01,010042,014,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
16
- 01,010042,015,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
17
- 01,010042,016,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
18
- 01,010042,017,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
19
- 01,010042,018,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า พรหมจรรย์ทำได้ยาก. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
20
- 01,010042,019,แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
21
- 01,010042,020,๒. ... พรหมจรรย์ทำไม่ได้ง่าย ...
22
- 01,010042,021,๓. ... พรหมจรรย์ประพฤติได้ยาก ...
23
- 01,010042,022,๔. ... พรหมจรรย์ประพฤติไม่ได้ง่าย ...
24
- 01,010042,023,๕. ... ข้าพเจ้าไม่อาจ ...
25
- 01,010042,024,๖. ... ข้าพเจ้าไม่สามารถ ...
26
- 01,010042,025,๗. ... ข้าพเจ้าไม่ยินดี ...
27
- 01,010042,026,๘. ... ข้าพเจ้าไม่ยินดียิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพล
28
- 01,010042,027,ให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
29
- 01,010042,028,รวมลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน ๑๖๐ บาท
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0042,001,๖. ... ธิดาของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
3
+ 01,0042,002,๗. ... ภริยาของข้าพเจ้ามี เขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
4
+ 01,0042,003,๘. ... หมู่ญาติของข้าพเจ้ามี พวกเขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
5
+ 01,0042,004,๙. ... หมู่มิตรของข้าพเจ้ามี พวกเขาจักเลี้ยงดูข้าพเจ้า ...
6
+ 01,0042,005,๑๐. ... บ้านของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยบ้านนั้น ...
7
+ 01,0042,006,๑๑. ... นิคมของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยนิคมนั้น ...
8
+ 01,0042,007,๑๒. ... นาของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยนานั้น ...
9
+ 01,0042,008,๑๓. ... สวนของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยสวนนั้น ...
10
+ 01,0042,009,๑๔. ... เงินของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยเงินนั้น ...
11
+ 01,0042,010,๑๕. ... ทองของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยทองนั้น ...
12
+ 01,0042,011,๑๖. ... ศิลปะของข้าพเจ้ามี ข้าพเจ้าจักเลี้ยงชีพได้แม้ด้วยศิลปะนั้น ...
13
+ 01,0042,012,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
14
+ 01,0042,013,อ้างว่าพรหมจรรย์ทำได้ยาก [๘ บท]
15
+ 01,0042,014,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
16
+ 01,0042,015,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
17
+ 01,0042,016,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
18
+ 01,0042,017,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
19
+ 01,0042,018,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า พรหมจรรย์ทำได้ยาก. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
20
+ 01,0042,019,แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
21
+ 01,0042,020,๒. ... พรหมจรรย์ทำไม่ได้ง่าย ...
22
+ 01,0042,021,๓. ... พรหมจรรย์ประพฤติได้ยาก ...
23
+ 01,0042,022,๔. ... พรหมจรรย์ประพฤติไม่ได้ง่าย ...
24
+ 01,0042,023,๕. ... ข้าพเจ้าไม่อาจ ...
25
+ 01,0042,024,๖. ... ข้าพเจ้าไม่สามารถ ...
26
+ 01,0042,025,๗. ... ข้าพเจ้าไม่ยินดี ...
27
+ 01,0042,026,๘. ... ข้าพเจ้าไม่ยินดียิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพล
28
+ 01,0042,027,ให้แจ้ง และสิกขาไม่เป็นอันบอกคืน.
29
+ 01,0042,028,รวมลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน ๑๖๐ บาท
01/010043.csv CHANGED
@@ -1,25 +1,25 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010043,001,ลักษณะสิกขาที่เป็นอันบอกคืน [๗๘ บท]
3
- 01,010043,002,กล่าวบอกคืนด้วยคำเป็นปัจจุบัน [๑๔ บท]
4
- 01,010043,003,[๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน
5
- 01,010043,004,เป็นอย่างไร?
6
- 01,010043,005,๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
7
- 01,010043,006,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
8
- 01,010043,007,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
9
- 01,010043,008,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
10
- 01,010043,009,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าบอกคืนพระพุทธเจ้า. ดูกรภิกษุ
11
- 01,010043,010,ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
12
- 01,010043,011,๒. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระธรรม ...
13
- 01,010043,012,๓. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระสงฆ์ ...
14
- 01,010043,013,๔. ... ข้าพเจ้าบอกคืนสิกขา ...
15
- 01,010043,014,๕. ... ข้าพเจ้าบอกคืนวินัย ...
16
- 01,010043,015,๖. ... ข้าพเจ้าบอกคืนปาติโมกข์ ...
17
- 01,010043,016,๗. ... ข้าพเจ้าบอกคืนอุเทศ ...
18
- 01,010043,017,๘. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
19
- 01,010043,018,๙. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระอาจารย์ ...
20
- 01,010043,019,๑๐. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
21
- 01,010043,020,๑๑. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
22
- 01,010043,021,๑๒. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
23
- 01,010043,022,๑๓. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
24
- 01,010043,023,๑๔. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำ
25
- 01,010043,024,ความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0043,001,ลักษณะสิกขาที่เป็นอันบอกคืน [๗๘ บท]
3
+ 01,0043,002,กล่าวบอกคืนด้วยคำเป็นปัจจุบัน [๑๔ บท]
4
+ 01,0043,003,[๓๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน
5
+ 01,0043,004,เป็นอย่างไร?
6
+ 01,0043,005,๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
7
+ 01,0043,006,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
8
+ 01,0043,007,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
9
+ 01,0043,008,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาควา��เป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
10
+ 01,0043,009,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าบอกคืนพระพุทธเจ้า. ดูกรภิกษุ
11
+ 01,0043,010,ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
12
+ 01,0043,011,๒. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระธรรม ...
13
+ 01,0043,012,๓. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระสงฆ์ ...
14
+ 01,0043,013,๔. ... ข้าพเจ้าบอกคืนสิกขา ...
15
+ 01,0043,014,๕. ... ข้าพเจ้าบอกคืนวินัย ...
16
+ 01,0043,015,๖. ... ข้าพเจ้าบอกคืนปาติโมกข์ ...
17
+ 01,0043,016,๗. ... ข้าพเจ้าบอกคืนอุเทศ ...
18
+ 01,0043,017,๘. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระอุปัชฌายะ ...
19
+ 01,0043,018,๙. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระอาจารย์ ...
20
+ 01,0043,019,๑๐. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระสัทธิวิหาริก ...
21
+ 01,0043,020,๑๑. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระอันเตวาสิก ...
22
+ 01,0043,021,๑๒. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
23
+ 01,0043,022,๑๓. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
24
+ 01,0043,023,๑๔. ... ข้าพเจ้าบอกคืนพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำ
25
+ 01,0043,024,ความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
01/010044.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010044,001,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำเป็นปัจจุบัน [๘ บท]
3
- 01,010044,002,๑. อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
- 01,010044,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
- 01,010044,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
- 01,010044,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้
7
- 01,010044,006,มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์.
8
- 01,010044,007,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
9
- 01,010044,008,๒. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นอุบาสก ...
10
- 01,010044,009,๓. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นอารามิก ...
11
- 01,010044,010,๔. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นสามเณร ...
12
- 01,010044,011,๕. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นเดียรถีย์ ...
13
- 01,010044,012,๖. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
14
- 01,010044,013,๗. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
15
- 01,010044,014,๘. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
16
- 01,010044,015,แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
17
- 01,010044,016,กล่าวบอกคืนด้วยคำเป็นปัจจุบันว่าไม่เกี่ยวข้อง [๑๔ บท]
18
- 01,010044,017,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
19
- 01,010044,018,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
20
- 01,010044,019,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
21
- 01,010044,020,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
22
- 01,010044,021,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระพุทธเจ้า
23
- 01,010044,022,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
24
- 01,010044,023,๒. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระธรรม ...
25
- 01,010044,024,๓. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระสงฆ์ ...
26
- 01,010044,025,๔. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยสิกขา ...
27
- 01,010044,026,๕. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยวินัย ...
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0044,001,กล่าวกำหนดภาวะด้วยคำเป็นปัจจุบัน [๘ บท]
3
+ 01,0044,002,๑. อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
+ 01,0044,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
+ 01,0044,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
+ 01,0044,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้
7
+ 01,0044,006,มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์.
8
+ 01,0044,007,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
9
+ 01,0044,008,๒. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นอุบาสก ...
10
+ 01,0044,009,๓. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นอารามิก ...
11
+ 01,0044,010,๔. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นสามเณร ...
12
+ 01,0044,011,๕. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นเดียรถีย์ ...
13
+ 01,0044,012,๖. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นสาวกเดียรถีย์ ...
14
+ 01,0044,013,๗. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นผู้มิใช่สมณะ ...
15
+ 01,0044,014,๘. ... ขอท่านจงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
16
+ 01,0044,015,แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
17
+ 01,0044,016,กล่าวบอกคืนด้วยคำเป็นปัจจุบันว่าไม่เกี่ยวข้อง [๑๔ บท]
18
+ 01,0044,017,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
19
+ 01,0044,018,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
20
+ 01,0044,019,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
21
+ 01,0044,020,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
22
+ 01,0044,021,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระพุทธเจ้า
23
+ 01,0044,022,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
24
+ 01,0044,023,๒. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระธรรม ...
25
+ 01,0044,024,๓. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระสงฆ์ ...
26
+ 01,0044,025,๔. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยสิกขา ...
27
+ 01,0044,026,๕. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยวินัย ...
01/010045.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010045,001,๖. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยปาติโมกข์ ...
3
- 01,010045,002,๗. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยอุเทศ ...
4
- 01,010045,003,๘. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระอุปัชฌายะ ...
5
- 01,010045,004,๙. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระอาจารย์ ...
6
- 01,010045,005,๑๐. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระสัทธิวิหาริก ...
7
- 01,010045,006,๑๑. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระอันเตวาสิก ...
8
- 01,010045,007,๑๒. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
9
- 01,010045,008,๑๓. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
10
- 01,010045,009,๑๔. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
11
- 01,010045,010,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
12
- 01,010045,011,กล่าวบอกคืนด้วยคำว่าจะต้องการอะไร [๑๔ บท]
13
- 01,010045,012,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
14
- 01,010045,013,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
15
- 01,010045,014,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
16
- 01,010045,015,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
17
- 01,010045,016,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระพุทธเจ้า.
18
- 01,010045,017,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
19
- 01,010045,018,๒. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระธรรม ...
20
- 01,010045,019,๓. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระสงฆ์ ...
21
- 01,010045,020,๔. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยสิกขา ...
22
- 01,010045,021,๕. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยวินัย ...
23
- 01,010045,022,๖. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยปาติโมกข์ ...
24
- 01,010045,023,๗. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยอุเทศ ...
25
- 01,010045,024,๘. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระอุปัชฌายะ ...
26
- 01,010045,025,๙. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระอาจารย์ ...
27
- 01,010045,026,๑๐. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระสัทธิวิหาริก ...
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0045,001,๖. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยปาติโมกข์ ...
3
+ 01,0045,002,๗. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยอุเทศ ...
4
+ 01,0045,003,๘. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระอุปัชฌายะ ...
5
+ 01,0045,004,๙. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระอาจารย์ ...
6
+ 01,0045,005,๑๐. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระสัทธิวิหาริก ...
7
+ 01,0045,006,๑๑. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระอันเตวาสิก ...
8
+ 01,0045,007,๑๒. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
9
+ 01,0045,008,๑๓. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
10
+ 01,0045,009,๑๔. ... ข้าพเจ้าไม่เกี่ยวข้องด้วยพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
11
+ 01,0045,010,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
12
+ 01,0045,011,กล่าวบอกคืนด้วยคำว่าจะต้องการอะไร [๑๔ บท]
13
+ 01,0045,012,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
14
+ 01,0045,013,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
15
+ 01,0045,014,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
16
+ 01,0045,015,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
17
+ 01,0045,016,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระพุทธเจ้า.
18
+ 01,0045,017,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
19
+ 01,0045,018,๒. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระธรรม ...
20
+ 01,0045,019,๓. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระสงฆ์ ...
21
+ 01,0045,020,๔. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยสิกขา ...
22
+ 01,0045,021,๕. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยวินัย ...
23
+ 01,0045,022,๖. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยปาติโมกข์ ...
24
+ 01,0045,023,๗. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยอุเทศ ...
25
+ 01,0045,024,๘. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระอุปัชฌายะ ...
26
+ 01,0045,025,๙. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระอาจารย์ ...
27
+ 01,0045,026,๑๐. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระสัทธิวิหาริก ...
01/010046.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010046,001,๑๑. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระอันเตวาสิก ...
3
- 01,010046,002,๑๒. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
4
- 01,010046,003,๑๓. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
5
- 01,010046,004,๑๔. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็
6
- 01,010046,005,ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
7
- 01,010046,006,กล่าวบอกคืนด้วยคำว่า ไม่ต้องการ [๑๔ บท]
8
- 01,010046,007,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
9
- 01,010046,008,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
10
- 01,010046,009,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
11
- 01,010046,010,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
12
- 01,010046,011,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระพุทธเจ้า.
13
- 01,010046,012,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
14
- 01,010046,013,๒. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระธรรม ...
15
- 01,010046,014,๓. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระสงฆ์ ...
16
- 01,010046,015,๔. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยสิกขา ...
17
- 01,010046,016,๕. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยวินัย ...
18
- 01,010046,017,๖. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยปาติโมกข์ ...
19
- 01,010046,018,๗. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยอุเทศ ...
20
- 01,010046,019,๘. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระอุปัชฌายะ ...
21
- 01,010046,020,๙. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระอาจารย์ ...
22
- 01,010046,021,๑๐. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระสิทธิวิหาริก ...
23
- 01,010046,022,๑๑. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระอันเตวาสิก ...
24
- 01,010046,023,๑๒. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
25
- 01,010046,024,๑๓. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
26
- 01,010046,025,๑๔. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
27
- 01,010046,026,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0046,001,๑๑. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระอันเตวาสิก ...
3
+ 01,0046,002,๑๒. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
4
+ 01,0046,003,๑๓. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
5
+ 01,0046,004,๑๔. ... ข้าพเจ้าจะต้องการอะไรด้วยพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็
6
+ 01,0046,005,ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
7
+ 01,0046,006,กล่าวบอกคืนด้วยคำว่า ไม่ต้องการ [๑๔ บท]
8
+ 01,0046,007,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
9
+ 01,0046,008,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
10
+ 01,0046,009,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
11
+ 01,0046,010,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็น
12
+ 01,0046,011,ผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระพุทธเจ้า.
13
+ 01,0046,012,ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
14
+ 01,0046,013,๒. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระธรรม ...
15
+ 01,0046,014,๓. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระสงฆ์ ...
16
+ 01,0046,015,๔. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยสิกขา ...
17
+ 01,0046,016,๕. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยวินัย ...
18
+ 01,0046,017,๖. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยปาติโมกข์ ...
19
+ 01,0046,018,๗. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยอุเทศ ...
20
+ 01,0046,019,๘. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระอุปัชฌายะ ...
21
+ 01,0046,020,๙. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระอาจารย์ ...
22
+ 01,0046,021,๑๐. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระสิทธิวิหาริก ...
23
+ 01,0046,022,๑๑. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระอันเตวาสิก ...
24
+ 01,0046,023,๑๒. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
25
+ 01,0046,024,๑๓. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
26
+ 01,0046,025,๑๔. ... ข้าพเจ้าไม่ต้องการด้วยพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
27
+ 01,0046,026,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
01/010047.csv CHANGED
@@ -1,28 +1,28 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010047,001,กล่าวบอกคืนด้วยคำว่า พ้นดีแล้ว [๑๔ บท]
3
- 01,010047,002,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
- 01,010047,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
- 01,010047,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
- 01,010047,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้
7
- 01,010047,006,มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้า
8
- 01,010047,007,พ้นดีแล้วจากพระพุทธเจ้า. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง
9
- 01,010047,008,และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
10
- 01,010047,009,๒. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระธรรม ...
11
- 01,010047,010,๓. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระสงฆ์ ...
12
- 01,010047,011,๔. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากสิกขา ...
13
- 01,010047,012,๕. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากวินัย ...
14
- 01,010047,013,๖. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากปาติโมกข์ ...
15
- 01,010047,014,๗. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากอุเทศ ...
16
- 01,010047,015,๘. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระอุปัชฌายะ ...
17
- 01,010047,016,๙. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระอาจารย์ ...
18
- 01,010047,017,๑๐. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระสัทธิวิหาริก ...
19
- 01,010047,018,๑๑. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระอันเตวาสิก ...
20
- 01,010047,019,๑๒. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
21
- 01,010047,020,๑๓. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
22
- 01,010047,021,๑๔. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
23
- 01,010047,022,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
24
- 01,010047,023,รวมลักษณะสิกขาที่เป็นอันบอกคืน ๗๘ บท
25
- 01,010047,024,ไวพจน์แห่งพระพุทธเจ้าเป็นต้น
26
- 01,010047,025,ก็อีกอย่างหนึ่ง ไวพจน์แห่งพระพุทธเจ้าก็ดี ไวพจน์แห่งพระธรรมก็ดี ไวพจน์แห่ง
27
- 01,010047,026,พระสงฆ์ก็ดี ไวพจน์แห่งสิกขาก็ดี ไวพจน์แห่งวินัยก็ดี ไวพจน์แห่งปาติโมกข์ก็ดี ไวพจน์แห่ง
28
- 01,010047,027,อุเทศก็ดี ไวพจน์แห่งพระอุปัชฌายะก็ดี ไวพจน์แห่งพระอาจารย์ก็ดี ไวพจน์แห่งพระสัทธิวิหาริก
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0047,001,กล่าวบอกคืนด้วยคำว่า พ้นดีแล้ว [๑๔ บท]
3
+ 01,0047,002,๑. ก็อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ กระสัน ไม่ยินดี ใคร่จะเคลื่อนจากความ
4
+ 01,0047,003,เป็นสมณะ อึดอัด เบื่อหน่าย เกลียดชังความเป็นภิกษุ ปรารถนาความเป็นคฤหัสถ์ ปรารถนา
5
+ 01,0047,004,ความเป็นอุบาสก ปรารถนาความเป็นอารามิก ปรารถนาความเป็นสามเณร ปรารถนาความเป็น
6
+ 01,0047,005,เดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นสาวกเดียรถีย์ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้
7
+ 01,0047,006,มิใช่สมณะ ปรารถนาความเป็นผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตร ย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบว่า ข้าพเจ้า
8
+ 01,0047,007,พ้นดีแล้วจากพระพุทธเจ้า. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง
9
+ 01,0047,008,และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
10
+ 01,0047,009,๒. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระธรรม ...
11
+ 01,0047,010,๓. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระสงฆ์ ...
12
+ 01,0047,011,๔. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากสิกขา ...
13
+ 01,0047,012,๕. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากวินัย ...
14
+ 01,0047,013,๖. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากปาติโมกข์ ...
15
+ 01,0047,014,๗. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากอุเทศ ...
16
+ 01,0047,015,๘. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระอุปัชฌายะ ...
17
+ 01,0047,016,๙. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระอาจารย์ ...
18
+ 01,0047,017,๑๐. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระสัทธิวิหาริก ...
19
+ 01,0047,018,๑๑. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระอันเตวาสิก ...
20
+ 01,0047,019,๑๒. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระผู้ร่วมอุปัชฌายะ ...
21
+ 01,0047,020,๑๓. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระผู้ร่วมอาจารย์ ...
22
+ 01,0047,021,๑๔. ... ข้าพเจ้าพ้นดีแล้วจากพระเพื่อนพรหมจารี. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่า
23
+ 01,0047,022,การทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็นอันบอกคืน.
24
+ 01,0047,023,รวมลักษณะสิกขาที่เป็นอันบอกคืน ๗๘ บท
25
+ 01,0047,024,ไวพจน์แห่งพระพุทธเจ้าเป็นต้น
26
+ 01,0047,025,ก็อีกอย่างหนึ่ง ไวพจน์แห่งพระพุทธเจ้าก็ดี ไวพจน์แห่งพระธรรมก็ดี ไวพจน์แห่ง
27
+ 01,0047,026,พระสงฆ์ก็ดี ไวพจน์แห่งสิกขาก็ดี ไวพจน์แห่งวินัยก็ดี ไวพจน์แห่งปาติโมกข์ก็ดี ไวพจน์แห่ง
28
+ 01,0047,027,อุเทศก็ดี ไวพจน์แห่งพระอุปัชฌายะก็ดี ไวพจน์แห่งพระอาจารย์ก็ดี ไวพจน์แห่งพระสัทธิวิหาริก
01/010048.csv CHANGED
@@ -1,22 +1,22 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010048,001,ก็ดี ไวพจน์แห่งพระอันเตวาสิกก็ดี ไวพจน์แห่งพระผู้ร่วมอุปัชฌายะก็ดี ไวพจน์แห่งพระผู้ร่วม
3
- 01,010048,002,อาจารย์ก็ดี ไวพจน์แห่งพระเพื่อนพรหมจารีก็ดี ไวพจน์แห่งคฤหัสถ์ก็ดี ไวพจน์แห่งอุบาสกก็ดี
4
- 01,010048,003,ไวพจน์แห่งอารามิกก็ดี ไวพจน์แห่งสามเณรก็ดี ไวพจน์แห่งเดียรถีย์ก็ดี ไวพจน์แห่งสาวก-
5
- 01,010048,004,เดียรถีย์ก็ดี ไวพจน์แห่งบุคคลผู้มิใช่สมณะก็ดี ไวพจน์แห่งบุคคลผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตรก็ดี
6
- 01,010048,005,แม้อย่างอื่นใด มีอยู่ ภิกษุย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบด้วยไวพจน์เหล่านั้น อันเป็นอาการ เป็นลักษณะ
7
- 01,010048,006,เป็นนิมิต. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็น
8
- 01,010048,007,อันบอกคืน.
9
- 01,010048,008,ลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน
10
- 01,010048,009,[๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิกขาไม่เป็นอันบอกคืนเป็นอย่างไร?
11
- 01,010048,010,ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิกขา ย่อมเป็นอันภิกษุในธรรมวินัยนี้ บอกคืนด้วยไวพจน์เหล่าใด
12
- 01,010048,011,อันเป็นอาการ เป็นเพศ เป็นนิมิต ภิกษุวิกลจริต บอกคืนสิกขาด้วยไวพจน์เหล่านั้น อันเป็น
13
- 01,010048,012,อาการ เป็นเพศ เป็นนิมิต สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน.
14
- 01,010048,013,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักภิกษุวิกลจริต สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
15
- 01,010048,014,ภิกษุมีจิตฟุ้งซ่าน บอกคืนสิกขา สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
16
- 01,010048,015,ภิกษุบอกคืนสิกขา ในสำนักภิกษุผู้มีจิตฟุ้งซ่าน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
17
- 01,010048,016,ภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะเวทนา บอกคืนสิกขา สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
18
- 01,010048,017,ภิกษุบอกคืนสิกขา ในสำนักภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะเวทนา สิกขาย่อมไม่เป็นอัน
19
- 01,010048,018,บอกคืน
20
- 01,010048,019,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
21
- 01,010048,020,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติมิลักขะ ด้วยภาษาชนชาติอริยกะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
22
- 01,010048,021,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0048,001,ก็ดี ไวพจน์แห่งพระอันเตวาสิกก็ดี ไวพจน์แห่งพระผู้ร่วมอุปัชฌายะก็ดี ไวพจน์แห่งพระผู้ร่วม
3
+ 01,0048,002,อาจารย์ก็ดี ไวพจน์แห่งพระเพื่อนพรหมจารีก็ดี ไวพจน์แห่งคฤหัสถ์ก็ดี ไวพจน์แห่งอุบาสกก็ดี
4
+ 01,0048,003,ไวพจน์แห่งอารามิกก็ดี ไวพจน์แห่งสามเณรก็ดี ไวพจน์แห่งเดียรถีย์ก็ดี ไวพจน์แห่งสาวก-
5
+ 01,0048,004,เดียรถีย์ก็ดี ไวพจน์แห่งบุคคลผู้มิใช่สมณะก็ดี ไวพจน์แห่งบุคคลผู้มิใช่เชื้อสายพระศากยบุตรก็ดี
6
+ 01,0048,005,แม้อย่างอื่นใด มีอยู่ ภิกษุย่อมกล่าวให้ผู้อื่นทราบด้วยไวพจน์เหล่านั้น อันเป็นอาการ เป็นลักษณะ
7
+ 01,0048,006,เป็นนิมิต. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ก็ชื่อว่าการทำความเป็นผู้ทุรพลให้แจ้ง และสิกขาก็เป็น
8
+ 01,0048,007,อันบอกคืน.
9
+ 01,0048,008,ลักษณะสิกขาที่ไม่เป็นอันบอกคืน
10
+ 01,0048,009,[๓๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิกขาไม่เป็นอันบอกคืนเป็นอย่างไร?
11
+ 01,0048,010,ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิกขา ย่อมเป็นอันภิกษุในธรรมวินัยนี้ บอกคืนด้วยไวพจน์เหล่าใด
12
+ 01,0048,011,อันเป็นอาการ เป็นเพศ เป็นนิมิต ภิกษุวิกลจริต บอกคืนสิกขาด้วยไวพจน์เหล่านั้น อันเป็น
13
+ 01,0048,012,อาการ เป็นเพศ เป็นนิมิต สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน.
14
+ 01,0048,013,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักภิกษุวิกลจริต สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
15
+ 01,0048,014,ภิกษุมีจิตฟุ้งซ่าน บอกคืนสิกขา สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
16
+ 01,0048,015,ภิกษุบอกคืนสิกขา ในสำนักภิกษุผู้มีจิตฟุ้งซ่าน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
17
+ 01,0048,016,ภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะเวทนา บอกคืนสิกขา สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
18
+ 01,0048,017,ภิกษุบอกคืนสิกขา ในสำนักภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะเวทนา สิกขาย่อมไม่เป็นอัน
19
+ 01,0048,018,บอกคืน
20
+ 01,0048,019,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักสัตว์ดิรัจฉาน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
21
+ 01,0048,020,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติมิลักขะ ด้วยภาษาชนชาติอริยกะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
22
+ 01,0048,021,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
01/010049.csv CHANGED
@@ -1,30 +1,30 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010049,001,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติอริยกะ ด้วยภาษาชนชาติมิลักขะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
3
- 01,010049,002,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
4
- 01,010049,003,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติอริยกะ ด้วยภาษาชนชาติอริยกะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
5
- 01,010049,004,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
6
- 01,010049,005,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติมิลักขะ ด้วยภาษาชนชาติมิลักขะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
7
- 01,010049,006,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
8
- 01,010049,007,ภิกษุบอกคืนสิกขา โดยกล่าวเล่น สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
9
- 01,010049,008,ภิกษุบอกคืนสิกขา โดยกล่าวพลาด สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
10
- 01,010049,009,ภิกษุไม่ประสงค์จะประกาศ แต่เปล่งเสียงให้ได้ยิน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
11
- 01,010049,010,ภิกษุประสงค์จะประกาศ แต่ไม่เปล่งเสียงให้ได้ยิน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
12
- 01,010049,011,ภิกษุประกาศแก่ผู้ไม่เข้าใจความ สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
13
- 01,010049,012,ภิกษุไม่ประกาศแก่ผู้เข้าใจความ สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
14
- 01,010049,013,ก็หรือภิกษุไม่ประกาศโดยประการทั้งปวง สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
15
- 01,010049,014,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืนด้วยเหตุอย่างนี้แล.
16
- 01,010049,015,สิกขาบทวิภังค์
17
- 01,010049,016,[๓๓] ที่ชื่อว่า เมถุนธรรม มีอธิบายว่า ธรรมของอสัตบุรุษ ประเพณีของชาวบ้าน
18
- 01,010049,017,มรรยาทของคนชั้นต่ำ ธรรมอันชั่วหยาบ ธรรมอันมีน้ำเป็นที่สุด กิจที่ควรซ่อนเร้น ธรรมอันคน
19
- 01,010049,018,เป็นคู่ๆ พึงประพฤติร่วมกัน นี้ชื่อว่า เมถุนธรรม.
20
- 01,010049,019,[๓๔] ที่ชื่อว่า เสพ ความว่า ภิกษุใดสอดนิมิตเข้าไปทางนิมิต สอดองค์กำเนิดเข้า
21
- 01,010049,020,ไปทางองค์กำเนิด โดยที่สุดแม้ชั่วเมล็ดงา ภิกษุนั้นชื่อว่า เสพ.
22
- 01,010049,021,[๓๕] คำว่า โดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ความว่า ภิกษุเสพเมถุนธรรม แม้
23
- 01,010049,022,ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายศากยบุตร จะกล่าวไปไยในหญิงมนุษย์
24
- 01,010049,023,เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า โดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย.
25
- 01,010049,024,[๓๖] คำว่า เป็นปาราชิก ความว่า บุรุษถูกตัดศีรษะแล้ว ไม่อาจมีสรีระคุมกันนั้นเป็น
26
- 01,010049,025,อยู่ ชื่อแม้ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เสพเมถุนธรรมแล้วย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อ
27
- 01,010049,026,สายพระศากยบุตร เพราะเหตุนั้น จึงตรัสว่า เป็���ปาราชิก.
28
- 01,010049,027,[๓๗] บทว่า หาสังวาสมิได้ ความว่า ที่ชื่อว่า สังวาส ได้แก่กรรมที่พึงทำร่วมกัน
29
- 01,010049,028,อุเทศที่พึงสวดร่วมกัน ความเป็นผู้มีสิกขาเสมอกัน นี้ชื่อว่าสังวาส สังวาสนั้นไม่มีร่วมกับภิกษุ
30
- 01,010049,029,นั้น เพราะเหตุนั้น จึงตรัสว่า หาสังวาสมิได้.
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0049,001,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติอริยกะ ด้วยภาษาชนชาติมิลักขะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
3
+ 01,0049,002,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
4
+ 01,0049,003,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติอริยกะ ด้วยภาษาชนชาติอริยกะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
5
+ 01,0049,004,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
6
+ 01,0049,005,ภิกษุบอกคืนสิกขาในสำนักแห่งชนชาติมิลักขะ ด้วยภาษาชนชาติมิลักขะ ถ้าเขาไม่เข้าใจ
7
+ 01,0049,006,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
8
+ 01,0049,007,ภิกษุบอกคืนสิกขา โดยกล่าวเล่น สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
9
+ 01,0049,008,ภิกษุบอกคืนสิกขา โดยกล่าวพลาด สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
10
+ 01,0049,009,ภิกษุไม่ประสงค์จะประกาศ แต่เปล่งเสียงให้ได้ยิน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
11
+ 01,0049,010,ภิกษุประสงค์จะประกาศ แต่ไม่เปล่งเสียงให้ได้ยิน สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
12
+ 01,0049,011,ภิกษุประกาศแก่ผู้ไม่เข้าใจความ สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
13
+ 01,0049,012,ภิกษุไม่ประกาศแก่ผู้เข้าใจความ สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน
14
+ 01,0049,013,ก็หรือภิกษุไม่ประกาศโดยประการทั้งปวง สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืน. ดูกรภิกษุทั้งหลาย
15
+ 01,0049,014,สิกขาย่อมไม่เป็นอันบอกคืนด้วยเหตุอย่างนี้แล.
16
+ 01,0049,015,สิกขาบทวิภังค์
17
+ 01,0049,016,[๓๓] ที่ชื่อว่า เมถุนธรรม มีอธิบายว่า ธรรมของอสัตบุรุษ ประเพณีของชาวบ้าน
18
+ 01,0049,017,มรรยาทของคนชั้นต่ำ ธรรมอันชั่วหยาบ ธรรมอันมีน้ำเป็นที่สุด กิจที่ควรซ่อนเร้น ธรรมอันคน
19
+ 01,0049,018,เป็นคู่ๆ พึงประพฤติร่วมกัน นี้ชื่อว่า เมถุนธรรม.
20
+ 01,0049,019,[๓๔] ที่ชื่อว่า เสพ ความว่า ภิกษุใดสอดนิมิตเข้าไปทางนิมิต สอดองค์กำเนิดเข้า
21
+ 01,0049,020,ไปทางองค์กำเนิด โดยที่สุดแม้ชั่วเมล็ดงา ภิกษุนั้นชื่อว่า เสพ.
22
+ 01,0049,021,[๓๕] คำว่า โดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ความว่า ภิกษุเสพเมถุนธรรม แม้
23
+ 01,0049,022,ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อสายศากยบุตร จะกล่าวไปไยในหญิงมนุษย์
24
+ 01,0049,023,เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า โดยที่สุดแม้ในสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย.
25
+ 01,0049,024,[๓๖] คำว่า เป็นป��ราชิก ความว่า บุรุษถูกตัดศีรษะแล้ว ไม่อาจมีสรีระคุมกันนั้นเป็น
26
+ 01,0049,025,อยู่ ชื่อแม้ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เสพเมถุนธรรมแล้วย่อมไม่เป็นสมณะ ไม่เป็นเชื้อ
27
+ 01,0049,026,สายพระศากยบุตร เพราะเหตุนั้น จึงตรัสว่า เป็นปาราชิก.
28
+ 01,0049,027,[๓๗] บทว่า หาสังวาสมิได้ ความว่า ที่ชื่อว่า สังวาส ได้แก่กรรมที่พึงทำร่วมกัน
29
+ 01,0049,028,อุเทศที่พึงสวดร่วมกัน ความเป็นผู้มีสิกขาเสมอกัน นี้ชื่อว่าสังวาส สังวาสนั้นไม่มีร่วมกับภิกษุ
30
+ 01,0049,029,นั้น เพราะเหตุนั้น จึงตรัสว่า หาสังวาสมิได้.
01/010050.csv CHANGED
@@ -1,27 +1,27 @@
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
- 01,010050,001,บทภาชนีย์ มรรคภาณวาร
3
- 01,010050,002,[๓๘] หญิง ๓ จำพวก คือ มนุษย์ผู้หญิง ๑ อมนุษย์ผู้หญิง ๑ สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ๑
4
- 01,010050,003,อุภโตพยัญชนก ๓ จำพวก คือ มนุษย์อุภโตพยัญชนก ๑ อมนุษย์อุภโตพยัญชนก ๑
5
- 01,010050,004,สัตว์ดิรัจฉานอุภโตพยัญชนก ๑
6
- 01,010050,005,บัณเฑาะก์ ๓ จำพวก คือ มนุษย์บัณเฑาะก์ ๑ อมนุษย์บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน-
7
- 01,010050,006,บัณเฑาะก์ ๑
8
- 01,010050,007,ชาย ๓ จำพวก คือ มนุษย์ผู้ชาย ๑ อมนุษย์ผู้ชาย ๑ สัตว์ดิรัจฉานตัวผู้ ๑
9
- 01,010050,008,หญิง ๓ จำพวก มีมรรคพวกละ ๓ เป็น ๙
10
- 01,010050,009,๑. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจวรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของมนุษย์
11
- 01,010050,010,ผู้หญิง ต้องอาบัติปาราชิก
12
- 01,010050,011,๒. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของอมนุษย์
13
- 01,010050,012,ผู้หญิง ต้องอาบัติปาราชิก
14
- 01,010050,013,๓. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของสัตว์
15
- 01,010050,014,ดิรัจฉานตัวเมีย ต้องอาบัติปาราชิก
16
- 01,010050,015,อุภโตพยัญชนก ๓ จำพวก มีมรรคพวกละ ๓ เป็น ๙
17
- 01,010050,016,๑. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของมนุษย์
18
- 01,010050,017,อุภโตพยัญชนก ต้องอาบัติปาราชิก
19
- 01,010050,018,๒. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของอมนุษย์
20
- 01,010050,019,อุภโตพยัญชนก ต้องอาบัติปาราชิก
21
- 01,010050,020,๓. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของสัตว์
22
- 01,010050,021,ดิรัจฉานอุภโตพยัญชนก ต้องอาบัติปาราชิก
23
- 01,010050,022,บัณเฑาะก์ ๓ จำพวก มีมรรคพวกละ ๒ เป็น ๖
24
- 01,010050,023,๑. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๒ คือ วัจจมรรค มุขมรรค ของมนุษย์บัณเฑาะก์
25
- 01,010050,024,ต้องอาบัติปาราชิก
26
- 01,010050,025,๒. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๒ คือ วัจจมรรค มุขมรรค ของอมนุษย์บัณเฑาะก์
27
- 01,010050,026,ต้องอาบัติปาราชิก
 
1
  Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 01,0050,001,บทภาชนีย์ มรรคภาณวาร
3
+ 01,0050,002,[๓๘] หญิง ๓ จำพวก คือ มนุษย์ผู้หญิง ๑ อมนุษย์ผู้หญิง ๑ สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ๑
4
+ 01,0050,003,อุภโตพยัญชนก ๓ จำพวก คือ มนุษย์อุภโตพยัญชนก ๑ อมนุษย์อุภโตพยัญชนก ๑
5
+ 01,0050,004,สัตว์ดิรัจฉานอุภโตพยัญชนก ๑
6
+ 01,0050,005,บัณเฑาะก์ ๓ จำพวก คือ มนุษย์บัณเฑาะก์ ๑ อมนุษย์บัณเฑาะก์ ๑ สัตว์ดิรัจฉาน-
7
+ 01,0050,006,บัณเฑาะก์ ๑
8
+ 01,0050,007,ชาย ๓ จำพวก คือ มนุษย์ผู้ชาย ๑ อมนุษย์ผู้ชาย ๑ สัตว์ดิรัจฉานตัวผู้ ๑
9
+ 01,0050,008,หญิง ๓ จำพวก มีมรรคพวกละ ๓ เป็น ๙
10
+ 01,0050,009,๑. ภิกษุเสพเ��ถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจวรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของมนุษย์
11
+ 01,0050,010,ผู้หญิง ต้องอาบัติปาราชิก
12
+ 01,0050,011,๒. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของอมนุษย์
13
+ 01,0050,012,ผู้หญิง ต้องอาบัติปาราชิก
14
+ 01,0050,013,๓. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของสัตว์
15
+ 01,0050,014,ดิรัจฉานตัวเมีย ต้องอาบัติปาราชิก
16
+ 01,0050,015,อุภโตพยัญชนก ๓ จำพวก มีมรรคพวกละ ๓ เป็น ๙
17
+ 01,0050,016,๑. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของมนุษย์
18
+ 01,0050,017,อุภโตพยัญชนก ต้องอาบัติปาราชิก
19
+ 01,0050,018,๒. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของอมนุษย์
20
+ 01,0050,019,อุภโตพยัญชนก ต้องอาบัติปาราชิก
21
+ 01,0050,020,๓. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๓ คือ วัจจมรรค ปัสสาวมรรค มุขมรรค ของสัตว์
22
+ 01,0050,021,ดิรัจฉานอุภโตพยัญชนก ต้องอาบัติปาราชิก
23
+ 01,0050,022,บัณเฑาะก์ ๓ จำพวก มีมรรคพวกละ ๒ เป็น ๖
24
+ 01,0050,023,๑. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๒ คือ วัจจมรรค มุขมรรค ของมนุษย์บัณเฑาะก์
25
+ 01,0050,024,ต้องอาบัติปาราชิก
26
+ 01,0050,025,๒. ภิกษุเสพเมถุนธรรมในมรรค ๒ คือ วัจจมรรค มุขมรรค ของอมนุษย์บัณเฑาะก์
27
+ 01,0050,026,ต้องอาบัติปาราชิก